แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่วแวดล้อม

จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินระดับต่าง ๆ นับถึงปี 58 ความหมาย จำนวน รพ ร้อยละ 1 พอใช้ 35 5.1 2 เริ่มมีการแก้ไขปรับปรุง 101 14.7 3 มีแนวโน้มที่ดีในกิจกรรมสำคัญ 112 16.3 4 มีผลลัพธ์ที่ดีในทุกกิจกรรม 148 21.5 5 มีการดำเนินงานผลลัพธ์ดีมาก 292 42.4 รวม 688 100.0 ได้รับการประเมินยกระดับปี 58 อีก 60 แห่ง รวมเป็น 711 แห่ง ประมาณ 96% ของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สังกัดกระทรวงอื่น ๆ อีก 15 แห่งเข้าร่วมโครงการและมีการดำเนินงาน

การดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรใน รพ. รพ สมัครเข้าร่วมโครงการ สสจ. สคร. กรณีประเมินระดับ 5 ระดับ 1-4 สคร, สสจ ประเมิน รับรองและแจ้งผล

แนวทางการดำเนินงาน กำหนดนโยบายการดำเนินงาน จัดตั้งคณะกรรมการ/ประชุมทีมงาน ที่มา:รพ ศูนย์สุรินทร์

แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) หน่วยงานชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงในหน่วยงานตนเอง เยี่ยมสำรวจ ให้คำแนะนำ โดยทีม ENV ตรวจสภาพแวดล้อมในที่ทำงานตามหน่วยงานที่มีภาวะเสี่ยง ตรวจสุขภาพประจำปี ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงจากการทำงาน

แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ประเมินซ้ำโดยทีม ENV โดยพิจารณาจากผลการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงานร่วมด้วย นำระดับความเสี่ยงปานกลางขึ้นไปมาทำแผนควบคุม หรือลดความเสี่ยง ดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยง กิจกรรมอื่นๆ เช่น การสอบสวนโรค หรืออุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงาน R To R หรือ การสร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยง

กระบวนการตรวจติดตาม/ประเมิน (audit) ตามเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล

ระดับการตรวจติดตาม หน่วยบริการสาธารณสุขประเมินตนเอง ตรวจติดตามโดยบุคลากรในโรงพยาบาลเอง ตรวจติดตามโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ทีมตรวจติดตามในพื้นที่ ตรวจติดตามโดยหน่วยงานที่ให้การรับรอง เช่น สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ

วิธีการตรวจติดตาม ตรวจความครบถ้วนของเอกสารเทียบกับเกณฑ์ (document audit) ตรวจพื้นที่ (conformance audit) ประมวลผลทั้ง 2 ส่วนร่วมกัน เพื่อดูความสอดคล้อง

2.การดำเนินงานประเมินความเสี่ยง และควบคุมแก้ไขความเสี่ยง องค์ประกอบและเกณฑ์การดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล 2.การดำเนินงานประเมินความเสี่ยง และควบคุมแก้ไขความเสี่ยง 1.การบริหารจัดการ 3.การติดตามประเมินผล

องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ นโยบายด้านการดูแลสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล คณะกรรมการ/คณะทำงานที่ทำหน้าที่รับผิดชอบงานด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล แผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อการประเมินความเสี่ยง/จัดการควบคุมแก้ไขด้านสุขภาพความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน

องค์ประกอบที่ 2การดำเนินงานประเมินความเสี่ยงและควบคุมแก้ไขความเสี่ยง การตรวจประเมินความเสี่ยงในการทำงานเบื้องต้น การตรวจสุขภาพบุคลากร การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ การจัดการระบบข้อมูลด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน คู่มือปฏิบัติงาน/แนวทาง/ขั้นตอนการทำงาน เพื่อความปลอดภัยจำแนกตามลักษณะงาน

องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ การสรุปผลการดำเนินงานและปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงแผนงานโครงการอย่างต่อเนื่อง

แผนกสำคัญ เช่น หน่วยจ่ายกลาง ซัก-รีด/ตัดเย็บ/ซ่อมเสื้อผ้า ห้องครัว/โภชนาการ หม้อไอน้ำ ทันตกรรม รังสีวินิจฉัย/รักษา ห้องผ่าตัด ซ่อมบำรุงรักษา ห้องปฏิบัติการ ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน (ห้องแยกติดเชื้อ) ห้องเคมีบำบัด ห้องผู้ป่วยวิกฤติ