แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่วแวดล้อม
จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินระดับต่าง ๆ นับถึงปี 58 ความหมาย จำนวน รพ ร้อยละ 1 พอใช้ 35 5.1 2 เริ่มมีการแก้ไขปรับปรุง 101 14.7 3 มีแนวโน้มที่ดีในกิจกรรมสำคัญ 112 16.3 4 มีผลลัพธ์ที่ดีในทุกกิจกรรม 148 21.5 5 มีการดำเนินงานผลลัพธ์ดีมาก 292 42.4 รวม 688 100.0 ได้รับการประเมินยกระดับปี 58 อีก 60 แห่ง รวมเป็น 711 แห่ง ประมาณ 96% ของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สังกัดกระทรวงอื่น ๆ อีก 15 แห่งเข้าร่วมโครงการและมีการดำเนินงาน
การดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรใน รพ. รพ สมัครเข้าร่วมโครงการ สสจ. สคร. กรณีประเมินระดับ 5 ระดับ 1-4 สคร, สสจ ประเมิน รับรองและแจ้งผล
แนวทางการดำเนินงาน กำหนดนโยบายการดำเนินงาน จัดตั้งคณะกรรมการ/ประชุมทีมงาน ที่มา:รพ ศูนย์สุรินทร์
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) หน่วยงานชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงในหน่วยงานตนเอง เยี่ยมสำรวจ ให้คำแนะนำ โดยทีม ENV ตรวจสภาพแวดล้อมในที่ทำงานตามหน่วยงานที่มีภาวะเสี่ยง ตรวจสุขภาพประจำปี ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงจากการทำงาน
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ประเมินซ้ำโดยทีม ENV โดยพิจารณาจากผลการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงานร่วมด้วย นำระดับความเสี่ยงปานกลางขึ้นไปมาทำแผนควบคุม หรือลดความเสี่ยง ดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยง กิจกรรมอื่นๆ เช่น การสอบสวนโรค หรืออุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงาน R To R หรือ การสร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยง
กระบวนการตรวจติดตาม/ประเมิน (audit) ตามเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล
ระดับการตรวจติดตาม หน่วยบริการสาธารณสุขประเมินตนเอง ตรวจติดตามโดยบุคลากรในโรงพยาบาลเอง ตรวจติดตามโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ทีมตรวจติดตามในพื้นที่ ตรวจติดตามโดยหน่วยงานที่ให้การรับรอง เช่น สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ
วิธีการตรวจติดตาม ตรวจความครบถ้วนของเอกสารเทียบกับเกณฑ์ (document audit) ตรวจพื้นที่ (conformance audit) ประมวลผลทั้ง 2 ส่วนร่วมกัน เพื่อดูความสอดคล้อง
2.การดำเนินงานประเมินความเสี่ยง และควบคุมแก้ไขความเสี่ยง องค์ประกอบและเกณฑ์การดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล 2.การดำเนินงานประเมินความเสี่ยง และควบคุมแก้ไขความเสี่ยง 1.การบริหารจัดการ 3.การติดตามประเมินผล
องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ นโยบายด้านการดูแลสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล คณะกรรมการ/คณะทำงานที่ทำหน้าที่รับผิดชอบงานด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล แผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อการประเมินความเสี่ยง/จัดการควบคุมแก้ไขด้านสุขภาพความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
องค์ประกอบที่ 2การดำเนินงานประเมินความเสี่ยงและควบคุมแก้ไขความเสี่ยง การตรวจประเมินความเสี่ยงในการทำงานเบื้องต้น การตรวจสุขภาพบุคลากร การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ การจัดการระบบข้อมูลด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน คู่มือปฏิบัติงาน/แนวทาง/ขั้นตอนการทำงาน เพื่อความปลอดภัยจำแนกตามลักษณะงาน
องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ การสรุปผลการดำเนินงานและปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงแผนงานโครงการอย่างต่อเนื่อง
แผนกสำคัญ เช่น หน่วยจ่ายกลาง ซัก-รีด/ตัดเย็บ/ซ่อมเสื้อผ้า ห้องครัว/โภชนาการ หม้อไอน้ำ ทันตกรรม รังสีวินิจฉัย/รักษา ห้องผ่าตัด ซ่อมบำรุงรักษา ห้องปฏิบัติการ ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน (ห้องแยกติดเชื้อ) ห้องเคมีบำบัด ห้องผู้ป่วยวิกฤติ