Ph.D. (Health Promotion) @SWU MS.Health Eduation) @SWU การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Ph.D. (Health Promotion) @SWU MS.Health Eduation) @SWU การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion Evaluation of Risk People on Diabetes Mellitus and Hypertension อ.ดร.กรฐณธัช ปัญญาใส Ph.D. (Health Promotion) @SWU MS.Health Eduation) @SWU

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

โปรแกรมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพ - กิจกรรมรู้ก่อนชนะก่อน - กิจกรรมหมอน้อยประจำตัว - กิจกรรมขาด 3 ตัดสิทธิ์ - กิจกรรมไม่เข้าใจให้ถาม - กิจกรรมเคาะประตูหน้าบ้าน การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพ - ระดับน้ำตาลในเลือด - ความดันโลหิต - ความยาวรอบเอว - ดัชนีมวลกาย - ความพึงพอใจ ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ - ความรู้ ความเข้าใจทางสุขภาพเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามหลัก 3อ 2ส - การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - การสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - การจัดการเงื่อนไขของตนเองเพื่อสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศเพื่อสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส - การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลัก 3อ 2ส - การมีส่วนร่วมกิจกรรมสุขภาพทางสังคม - การคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง

วิธีดำเนินการวิจัย Quasi-experimental research One group-pretest-posttest design เลขที่ 07/2560

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน FBS 100-125 mg/dl โรคความดันโลหิตสูง systolic pressure = 121-139 mmHg Diastolic pressure 81-89 mmHg

กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ทฤษฎีการคำนวณขนาดตัวอย่างในกรณีการวิจัยเชิงทดลองหรือสหสัมพันธ์ ที่มีผลการทดลองขนาดกลาง [ขนาดอิทธิพล (effect size) =.50] เพื่อหาข้อสรุปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและมีความสำคัญในระดับนำสู่การปฏิบัติ และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 95% (ระพินทร์ โพธิ์ศรี, 2549) ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 26 คน โดยคณะผู้วิจัยปรับจำนวนกลุ่มตัวอย่างเป็น 30 คน

เครื่องมือการวิจัย ส่วนที่ 1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ตามหลัก 3อ 2ส (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย สุรา และบุหรี่) ประกอบด้วย กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมรู้ก่อนชนะก่อน กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมหมอน้อยประจำตัว กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมขาด 3 ตัดสิทธิ์ กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมไม่เข้าใจให้ถาม กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมเคาะประตูหน้าบ้าน

ส่วนที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. แบบวัดความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ 1.1 ข้อมูลทั่วไป 1.2 ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ แบ่งออกเป็น 8 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 ความรู้ ความเข้าใจทางสุขภาพเกี่ยวกับการปฏิบัติตน ด้านที่ 2 การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส ด้านที่ 3 การสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพตามหลัก ด้านที่ 4 การจัดการเงื่อนไขของตนเองเพื่อสร้างเสริมสุขภาพตาม ด้านที่ 5 การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ด้านที่ 6 การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลัก 3อ 2ส ด้านที่ 7 การมีส่วนร่วมกิจกรรมสุขภาพทางสังคม ด้านที่ 8 การคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง

2. แบบบันทึกภาวะสุขภาพ ประกอบด้วย ระดับน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิตตัวบน ความดันโลหิตตัวล่าง ความยาวรอบเอว ดัชนีมวลกาย 3. แบบประเมินความพึงพอใจ

การดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 1. คณะผู้วิจัยขออนุญาตดำเนินการวิจัยจากผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2. คณะผู้วิจัยพบกลุ่มตัวอย่าง แนะนำตัว ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3. คณะผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบวัดความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ โดยให้เวลา 30-40 นาที จากนั้นประเมินระดับน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต ความยาวรอบเอว และดัชนีมวลกาย (pre-test) 4. คณะผู้วิจัยนัดหมายกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับวัน เวลา และสถานที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 5. คณะผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพแต่ละกิจกรรม 3 เดือน โดยคณะผู้วิจัยบันทึกภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างในแบบบันทึกภาวะสุขภาพ 6. คณะผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบวัดความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ และแบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ โดยให้เวลา 40 นาที จากนั้นประเมินระดับน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต ความยาวรอบเอว และดัชนีมวลกาย ของกลุ่มตัวอย่าง หลังการทดลอง(post-test)

การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลทั่วไป ถี่และร้อยละ เปรียบเทียบคะแนน ก่อน - หลัง การทดลอง Paired-samples t-test วิเคราะห์ด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะสุขภาพ และข้อมูลความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย ตัวแปร Min Max 1.ความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ก่อน 1 หลัง 7 9 2.การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพตามหลัก 3อ2ส 3 3.การสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพตามหลัก 3อ2ส 5 16 15 19

ตัวแปร Min Max 4.การจัดการเงื่อนไขของตนเองเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ ก่อน 1 18 หลัง 16 20 5.การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ 15 19 6. การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลัก 3อ 2ส 7 17

ตัวแปร Min Max 7. การมีส่วนร่วมกิจกรรมสุขภาพทางสังคม ก่อน 12 หลัง 14 7. การมีส่วนร่วมกิจกรรมสุขภาพทางสังคม ก่อน 12 หลัง 14 18 8. การคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง 7 28 29 38

ภาวะสุขภาพ ก่อนการทดลอง (n = 30) หลังการทดลอง (n = 30) SD ระดับน้ำตาลในเลือด (mg/dl) 91.60 7.94 87.11 6.90 ความดันโลหิตตัวบน (mmHg) 128.41 11.69 114.41 4.14 ความดันโลหิตตัวล่าง (mmHg) 84.33 4.658 72.90 2.52 ความยาวรอบเอว (cm) 93.08 8.86 85.52 3.01 ดัชนีมวลกาย 31.30 3.14 30.01 3.02

ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ SD ระดับความพึงพอใจ ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตน 4.60 .98 มากที่สุด ด้านการบริการกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ 4.70 .46 ด้านการพัฒนาตนเกี่ยวกับการปฏิบัติตน 4.67 .47 ด้านการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ด้านสื่อกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 4.73 .45 ด้านความสอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชน ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.83 .37 ด้านความต่อเนื่องของการดูแลสุขภาพตนเอง 4.57 .62 โดยรวม

ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 การนำกิจกรรมไปใช้ควรมีการประเมินเกี่ยวกับสภาพปัญหา ความต้องการของพื้นที่ และความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ก่อนการดำเนินการ 1.2 การนำกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไปใช้ในบริบทที่แตกต่างกันนั้น ควรมีการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของพื้นที่ก่อน

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบผลของการสร้างเสริมสุขภาพระหว่างกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ใช้กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ กับที่ไม่ใช้กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ 2.2 ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวถึงอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของกลุ่มเสี่ยงฯ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อประเมินและติดตามการสร้างเสริมสุขภาพและความต่อเนื่องของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ