ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ Kanit Ngowsiri, Ph.D. Oct 25, 2018
ความเชื่อมโยง และ พลวัตรที่เกี่ยวกับสุขภาพ อายุ พฤติกรรมสุขภาพ ปกติ – เจ็บป่วย- เป็นผู้ป่วย ศาสนา เชื้อชาติ เพศ ที่มา :http://wops.moph.go.th/ops/thp/thp/index.php
3 อ. 2 ส.
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (environment) เศรษฐกิจ: ทุนนิยม ความยากจน 2. การศึกษา : การรับรู้ข้อมูลสุขภาพ ประชากร : โครงสร้าง ครอบครัว การอพยพย้ายถิ่น สังคม : เพศสัมพันธ์ ยาเสพติด อาชญากรรม การเมือง : สังคมไม่เป็นสุข เครียด คุณภาพชีวิตลด เทคโนโลยี : วิถีชีวิตเปลี่ยน การแพทย์เจริญ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม/ ระบบนิเวศน์ : ปัญหา โรคติดต่อ
ปัจจัยด้านบริการสุขภาพ (health service) พรบ.ประกันสุขภาพแห่งชาติ : 30 บ.รักษาทุกโรค 2. พรบ.สุขภาพแห่งชาติ : การดูแลสุขภาพองค์รวม พรบ.สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สถานบริการสุขภาพ : ยกระดับ/พัฒนาคุณภาพ การแบ่งระดับสถานบริการ/การส่งต่อผู้รับบริการ อสม. / อสส. /แกนนำสุขภาพ ท้องถิ่น / เอกชน ร่วมจัดบริการสุขภาพ กำลังคนด้านสุขภาพ / การร้องเรียน (ม.41)
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ (healthy lifestyle) : อุปนิสัย แนวทางการดำเนินชีวิตประจำวันของบุคคล ที่ส่งผลต่อสุขภาพ (+/-) การบริโภคของคนไทยปัจจุบัน กินผัก ผลไม้น้อย กินข้าว แป้ง หวาน(เครื่องดื่มน้ำตาล) เค็มมากขึ้น กินอาหารนอกบ้านเพิ่มขึ้น (เสี่ยงต่ออาหารปนเปื้อน) กินอาหารพร้อมปรุงและอาหารสำเร็จรูปเพิ่มขึ้น พฤติกรรมอื่นๆ ออกกำลังกายไม่เพียงพอ เคลื่อนไหวร่างกายลดลง สุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์และความเครียด สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่ม alcohol เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ไม่เฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ไม่เฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ (health responsibility) ด้านการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย (physical activity and exercise) ด้านโภชนาการ (nutrition) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonal relations or interpersonal support) การพัฒนาทางจิตวิญญาณ (self actualization or spiritual growth) การจัดการกับความเครียด (stress management)