งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Healthy Thailand นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2 เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558 Millennium Development Goals (MDGs)
1. กำจัดความยากจนและความหิวโหยให้หมดไป 2. ไปถึงเป้ากมายการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กสากล 3. ส่งเสริมความเท่าเทียมของเพศชายและหญิง และบทบาทสตรี 4. ลดการตายของเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี 5. ลดอัตราการตายของมารดา จากภาวะคลอดและหลังคลอด 6. ลดอัตราการติดเชื้อ เอดส์ มาลาเรีย และโรคสำคัญอื่นๆ 7. พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 8. สร้างความมีส่วนร่วม เพื่อไปสู่จุดหมายร่วมกัน

3 Healthy Thailand สุขภาพดีต้องมีแนวคิดใหม่และแนวร่วมใหญ่ แนวร่วใหญ่
ผลผลิตใหม่ กระแสใหม่และใหญ่

4 ผลผลิตทางสุขภาพ(Outcome)ใหม่
ปรากฏการณ์ทางสุขภาพใหม่ การจัดระเบียบสุขภาพใหม่ ปริมาณ ทางสุขภาพ คุณภาพ ทางสุขภาพ

5 ประเทศไทย ปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไป
ปัญหาเดิม - วางแผนครอบครัว แม่และเด็ก โภชนาการ สุขาภิบาล โรคติดต่อ ปัญหาใหม่ - ปัญหาเดิมลดลง แต่ยังมีอยู่บางพื้นที่ บางเรื่อง - เพิ่มด้วยเรื่องของพฤติกรรม บุหรี่ เหล้า อุบัติเหตุ พร้อมด้วย มะเร็ง และโรคไม่ติดต่อ

6 แนวคิด + แนวร่วม ความพยายาม ปรากฏการณ์
แนวคิด + แนวร่วม ความพยายาม ปรากฏการณ์ New Health Phenomena 2545 – การออกกำลังกาย 23 พ.ย – สนามหลวง – World Record = การจุดประกาย การขี่ประกาย สำคัญกว่าการจุดประกาย How to maintain Momentum การจัดระเบียบใหม่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตไทยๆ ปริมาณ - ความครอบคลุม คุณภาพ - สัดส่วนการมีส่วนร่วม

7 การพ่วงประกายยิ่งยากขึ้นไปอีก
2546 การออกกำลังกาย และอาหาร ประกาศ ปี 2547 = ปีอาหารปลอดภัย Health = A Complete State of Physical Mental and Social Well being อ = ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ อโรคยา อนามัยสิ่งแวดล้อม

8 กรอบแนวคิดเมืองไทยสุขภาพดี(Healthy Thailand)
ทุนสุขภาพ(ภูมิปัญญาพื้นบ้าน) การเคลื่อนไหวทางสังคม(Social Movement) ความร่วมมือระหว่างรัฐ/ท้องถิ่น เอกชน/ประชาชน ในพื้นที่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่เอื้อต่อการควบคุมโรคไม่ติดต่อ การสร้างหุ้นส่วนสุขภาพและการมีส่วนร่วม (Partnership and Participation) การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย มาตรการทางกฎหมาย/สังคม การสร้างนโยบายสาธารณ(HPP)แบบมีส่วนร่วม การควบคุมโรคไม่ติดต่อ การสร้างเครือข่ายในพื้นที่(Network Area) ภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การสร้างกลุ่ม/ชมรมสุขภาพ ชุมชน/เมือง (Means เชิงพฤติกรรม) ผลลัพธ์(Output) (Input เชิงกิจกรรม) ยุทธศาสตร์และนโยบายกรม/กระทรวง/จังหวัด การปฏิรูประบบสุขภาพ การประสานงานภาคีสุขภาพ รูปแบบการพัฒนาระบบ สุขภาพในชุมชน การสร้างกระบวนการทางสังคมเพื่อสุขภาพ การสรุปบทเรียนทางสุขภาพเชิงนโยบาย ความร่วมมือทางสังคม การคุ้มครองผู้บริโภค

9 Healthy Thailand จากประสบการณ์ของ Health for All และ Healthy Cities
ตัวชี้วัด - ไม่มากไปและทำได้ง่าย ความร่วมมือ - อย่าหลายสาขา แนวปฏิบัติ - รากหญ้าเริ่มต้น

10 Healthy Thailand Concept
จากวิถีชุมชน เริ่มต้นกระแสใหญ่ ใส่ ความพยายาม ใหม่ ให้ชุมชนสร้างกระบวนการ ประสานแนวร่วมให้ดี มีเป้าหมายที่ปรับได้และชัดเจน เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 21 เมษายน 2547

11 เมืองไทยสุขภาพดี Healthy Thailand ม.ค. - ธ.ค. 2547
เป้าหมาย ตัวชี้วัดหมู่บ้าน/ตำบล ความสำเร็จ > 80% ตัวชี้วัดอำเภอ/จังหวัด ความสำเร็จ > 80% ทางสู่เมืองไทย สุขภาพดี ออกกำลังกาย 1. ประชากรอายุ > 6ปี ออกกำลังกายตามวัย > 50% หมู่บ้าน สุขภาพดี อาหาร 2. อาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิด > 90% (สุ่มตรวจ สารเร่งเนื้อแดงระดับจังหวัด ) 3. ตลาดสดผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐานตลาดสดน่าซื้อ > 80% 1. ร้านอาหาร/แผงลอย มีมาตรฐาน ตาม เกณฑ์ Clean Food Good Taste > 30% 2. ตลาดสดน่าซื้อ อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง 3. > 50% ของ โรงงานอาหารผ่านเกณฑ์ GMP 75 % หมู่บ้าน ตำบล สุขภาพดี 4. > 50% วัยรุ่นเป็นสมาชิกชมรม To be No. 1 และ มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 5. >50% ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและมีกิจกรรมทุกเดือน อารมณ์ 50 % ตำบล อำเภอ สุขภาพดี อโรคยา 6. ไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คน/แสนประชากร 7. ประชากร อายุ > 40 ปี ตรวจปัสสาวะและ วัดความดันโลหิต ทุกปี > 80% ( กลุ่มเสี่ยงตรวจน้ำตาลในเลือดทุกปี) 8. สตรี อายุ > 35 ปี มีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง อย่างถูกต้อง >80% 50 % อำเภอ จังหวัด สุขภาพดี อนามัย สิ่งแวดล้อม 9. > 80% ของเด็กอายุ < 6ปี มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย ระดับตำบลมีศูนย์เด็กเล็กเข้ากระบวนการ ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ อย่างน้อย 1 แห่ง 10.โรงเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ > 50% 4. ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ > 30% 5. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ > 30% 6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอย่างน้อย อำเภอละ1 แห่งหรือในระดับจังหวัด > 50% เมืองไทยสุขภาพดี Healthy Thailand 2558 (MDGs 2015) ประเมินผล 1ต.ค. – 15 พ.ย โดยสำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักตรวจและประเมินผลและศูนย์วิชาการเขต


ดาวน์โหลด ppt นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google