นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
แผนการและแนวทางการดำเนินงานของ ระบบ provis ในปีงบประมาณ 2555
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
สถานการณ์คุณภาพอากาศและเสียง
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ผังพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10
สรุปประเด็นสำคัญ.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์ มุมมองการนำระบบข้อมูลไปใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้ยา นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์

ประเด็นที่ควรคำนึงถึง 1.ด้านนโยบาย 2.ด้านบุคลากร 3.ด้านระบบบริการ 4.ด้านการบริหารจัดการ

ประเด็นที่ควรคำนึงถึง 1.ด้านนโยบาย นโยบาย/ข้อสั่งการด้านการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด นโยบาย/มาตรการด้านการส่งเสริมป้องกันควบคุมโรคHIV/AIDS

คำสั่งศพส. 7 กพ.2557

เหตุผลและความจำเป็นในมาตรการลดอันตราย จากการใช้ยาเสพติด เพื่อให้ผู้ที่ใช้ยาเสพติดที่ยังเลิกไม่ได้ ได้รับการดูแล โดยการป้องกันไม่ให้เสี่ยงต่อการติดและแพร่กระจายเชื้อ ต่อตนเองและผู้อื่นโดยได้รับบริการจนสามารถเลิกใช้ยา สามารถกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ

พื้นที่ดำเนินการตามมาตรการ Harm Reduction ปี 2557-2558 19 จังหวัด ได้แก่ 1) กทม. 2) ปทุมธานี 3) สมุทรปราการ 4) นนทบุรี 5) เชียงใหม่ 6) เชียงราย 7) แม่ฮ่องสอน 8) ลำปาง 9) พะเยา 10) ตาก 11) นครศรีธรรมราช 12) สุราษฎร์ธานี 13) สตูล 14) พัทลุง 15) สงขลา 16) ตรัง 17) ยะลา 18) ปัตตานี 19) นราธิวาส

UNAIDS“Getting to Zero” “สู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์” 1.ไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 2. ไม่มีการเสียชีวิตเนื่องจากโรคเอดส์ 3.ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ เป้าหมาย 5 ปี คือ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011-2015

ประเด็นที่ควรคำนึงถึง 2.ด้านบุคลากร ขอบเขตความรับผิดชอบ ของงานยาเสพติด และงานเอดส์ ซึ่งส่วนใหญ่ผู้รับผิดชอบจำเป็นต้องแบ่งส่วน การใช้ข้อมูลระบบติดตามจึงต้องมีความชัดเจนเรื่องผู้ดูแล กำกับติดตาม ภาระงาน ปัจจุบันมีการรายงานโรคเฉพาะตามนโยบาย หลากหลายระบบรายงาน อาทิงานยาเสพติดต้องรายงานระบบ บสต ,รายงานในฐานข้อมูลโรงพยาบาล งานเอดส์ต้องมีการรายงานและเฝ้าระวังตามระบบรายงานโรค ทัศนคติต่อผู้ใช้ยา ปรับทัศนคติต่อผู้ใช้ยา สร้างความรู้ความเข้าใจ - ไม่ตีตรา องค์ความรู้ด้านการลดอันตราย – มีองค์ความรู้หลายส่วน

ประเด็นที่ควรคำนึงถึง 3.ด้านระบบบริการ ความเชื่อมโยงจากการนำข้อมูลไปใช้ ภายในหน่วยงาน อาทิ การส่งต่อ ส่งตรวจ จากแต่ละแผนกที่เกี่ยวข้อง การสะท้อนข้อมูลกลับจากส่วนกลาง และการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในระดับจังหวัด เขตบริการ ประเทศ แบบ 2-way

สถานบริการสุขภาพNGO เป็นจุดเชื่อมต่อเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดให้เข้าสู่ระบบ HARM REDUCTION สามารถใช้ข้อมูลจากระบบ และส่งต่อระบบสู่สถานบริการสาธารณสุขได้ดี

ประเด็นที่ควรคำนึงถึง 4.ด้านการบริหารจัดการ ด้านเทคนิกการใช้โปรแกรม การรายงาน การกำกับ นโยบายของหัวหน้าหน่วยงานในการสนับสนุน ทรัพยากร

ตัวอย่างโปรแกรม

ตัวอย่างการสรุปประมวลผล รายงาน ครบถ้วน เป็นเชิงปริมาณมากไป น่าจะลงไปในเชิงคุณภาพ

โดยสรุป มีการทำงานที่แยกส่วน บางส่วนมีการซ้ำซ้อนในข้อมูล โปรแกรมรายงานเป็นโปรแกรมที่มีประโยชน์ บ่งบอกข้อสรุปสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน หากมีการลงข้อมูลครบถ้วน กำกับ ดูแล ติดตามอย่างต่อเนื่อง สถานพยาบาลที่เหมาะสมที่สุดในการรายงานที่สมบรณ์คือสถานพยาบาลที่ให้การรักษาทั้งโรคติดยาและอันตรายทางกายและจิตที่เกี่ยวข้อง ในความหมายคือ one stop service : รพ. ใกล้บ้านที่มี การดูแลแบบองค์รวม

โดยสรุป องค์ความรู้ด้านการบำบัดยาเสพติด/harm reduction ควรเสริมให้กับผู้ปฏิบัติงานฝ่ายกาย ในขณะเดียวกันองค์ความรู้ด้านฝ่ายกายโดยเฉพาะอันตรายทางกายที่เกิดจากการฉีดควรเสริมให้กับผู้ปฏิบัติงานการบำบัดยาเสพติด/harm reduction ผู้บริหารมีหน้าที่ตัดสินใจหากจำเป็นต้องมีการเก็บข้อมูล โดยมอบให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ดำเนินการ โดยให้การสนับสนุนทางองค์ความรู้ ทรัพยากร มีข้อมูลสะท้อนกลับจากส่วนกลาง และนำไปใช้ขับเคลื่อนนโยบาย

THANK YOU FOR ATTENION