การจัดทำแผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การจัดทำงบประมาณ/โครงการ
ตัวอย่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และคำรบรองการปฏิฟ้ติราชการ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนเงินบำรุง
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กรอบการจัดทำแผนปีงบประมาณ 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561 นายแพทย์ปัจจุบัน เหมหงษา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดลำพูน

แผนผังแสดงความสอดคล้องเชื่อมโยงของแผนพัฒนาจังหวัดลำพูน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 1. พัฒนาการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและความยั่งยืน 1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 6. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร 2. การเสริมสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 7. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 3. ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. การสร้างความเข็มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 8. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม 4. ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 4. พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 9. การพัฒนาภูมิภาค เมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ 5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5. การพัฒนาเมืองสำคัญ 5. ความมั่นคง 10. การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาค 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 6. การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน 1. เมืองหัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์ 2. เมืองเกษตร สีเขียว 3. เมืองจุดหมายปลายทางแห่งการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์วัฒนธรรม 4. เมืองแห่งคุณภาพชีวิต 5. เมืองนิเวศน์ เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2564 ให้มีความเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาล การปฏิรูปด้านสาธารณสุข ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) โดยแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พันธกิจ : พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน เป้าหมาย : ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

รัฐบาลได้กำหนด กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ ให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยยุทธศาสตร์ชาติที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาระยะ 20 ปี ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งทุกยุทธศาสตร์ มีความเกี่ยวข้องกับ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ 1.1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 1.2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 1.4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 1.5 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1.6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

กระทรวงสาธารณสุข มีการกำหนดยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี และส่งผลต่อการใช้จ่ายภาครัฐด้านสุขภาพของประเทศ สอดรับกับการปฏิรูปประเทศไทยและการปฏิรูปด้านสาธารณสุข เพื่อสร้างความเข้มแข็งและมั่นคงยั่งยืนให้กับระบบสุขภาพ ทัดเทียมกับนานาประเทศในเอเชียได้ จึงได้วางทิศทางในการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) เป็น 4 ระยะ ระยะละ 5 ปี และมีจุดเน้นหนักแต่ละระยะ คือ ระยะที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564 ปฏิรูประบบ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2565 – 2569 สร้างความเข้มแข็ง ระยะที่ 3 พ.ศ. 2570 – 2574 สู่ความยั่งยืน ระยะที่ 4 พ.ศ. 2575 – 2579 เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย

ในระยะ 1 ปี 4 เดือนที่เหลือ (มิถุนายน 256จ ถึง กันยายน 2561 ) กระทรวงสาธารณสุขมุ่งมั่นปฏิรูประบบสาธารณสุขเพื่อตอบสนองนโยบายรัฐบาล ด้วยยุทธศาสตร์ 3 เครื่องยนต์ ได้แก่ ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความมั่นคง (Inclusive Growth Engine) ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างความมั่งคั่ง (Productive Growth Engine) และสร้างสมดุลในการพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน (Green Growth Engine)  ซึงประกอบ 10 ประเด็นสำคัญในการพัฒนา

ลดความเหลื่อมล้ำสร้าง ความมั่นคง Inclusive Growth Engine  เน้นหนักใน 6 ประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1.1 Smart citizen ต่อยอดจากการลงนามความร่วมมือ 4 กระทรวง ให้ความสำคัญกับเด็กและผู้สูงอายุ และเตรียมออกระเบียบสำนักนายกฯ ที่จะสร้างคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District health board: DHB) ในการขับเคลื่อนนโยบายนี้ 1.2 การปฏิรูประบบบริการปฐมภูมิ โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในระดับตำบล ภายใน 10 ปี เพิ่มงบประมาณสร้างแรงจูงใจสำหรับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 150 บาท/ประชากร 1.3 การพัฒนาระบบบริการ โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายและกระจายไปสู่ทุก ภูมิภาคของประเทศเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้เข้าถึง โดยเน้น 3 เรื่องที่สำคัญ คือ 1. การเปลี่ยนอวัยวะ (Organ Transplant) 2. การผ่าตัดแบบMinimal invasive surgery 3. การดูแลผู้ป่วยแบบ Intermediate care เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เตียงในโรงพยาบาลชุมชน และ เตรียมผู้ป่วยกลับสู่ชุมชน 1.4 การต่อยอด Long term care โดยเพิ่มกลุ่มเป้าหมายให้มากขึ้น 1.5 การดูแลผู้ป่วยเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติ มีสิทธิทุกที่ (UCEP) โดยเน้นการพัฒนาห้องฉุกเฉินและระบบส่งต่อ ให้มีคุณภาพ โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินดูแลผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน 1.6 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข คือ การสร้าง war room เพื่อรองรับงานด้าน สาธารณสุขฉุกเฉินและภัยพิบัติต่าง ๆ ป้องกันและควบคุมโรคระบาดที่จะแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทย

2. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างความมั่งคั่ง Productive Growth Engine เน้นหนักใน 3 ประเด็นสาคัญ ได้แก่ 2.1 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ให้ความสำคัญในการพัฒนา Product Hub, Wellness Hub และ Medical Hub เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ 2.2 การเพิ่มประสิทธิภาพการขึ้นทะเบียนและใบอนุญาต เพื่อเชื่อมผู้ประกอบการในการธุรกิจให้รวดเร็วมากขึ้น 2.3 การพัฒนาเขตสุขภาพพิเศษ งานสาธารณสุขชายแดน งานสาธารณสุขทางทะเลและเกาะ และเขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก รวมถึงพื้นที่เฉพาะอื่น ๆ 

3. สร้างสมดุลในการพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน Green Growth Engine เน้นหนักในการพัฒนาโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 959 แห่ง เพื่อลดมลพิษ ลดการใช้พลังงาน ลดภาวะโรคร้อน 

แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560 – 2564 VISION เขตสุขภาพล้านนา เป็นองค์กรหลักในการ ประสาน สนับสนุน และ จัดการ ระบบสุขภาพ สู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชน มีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข อย่างยั่งยืน ภายในปี 2564  เขตสุขภาพที่ 1 ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบสนับสนุน ขับเคลื่อนระบบสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการทำงานแบบบูรณาการภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน บริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานสาธารณสุขในเครือข่ายอย่างมีธรรมาภิบาล พัฒนาระบบการควบคุม กำกับ ประเมินผลของเครือข่าย โดยใช้แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)  โดยมีวิสัยทัศน์ คือ เขตสุขภาพล้านนา เป็นองค์กรหลัก ในการประสาน สนับสนุน และจัดการ ระบบสุขภาพ สู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชน มีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข อย่างยั่งยืน ภายในปี 2564

เจ้าหน้าที่มีความสุข พัฒนาระบบสนับสนุนและขับเคลื่อนระบบสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการทำงานแบบบูรณาการภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน บริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานสาธารณสุขในเครือข่ายอย่างมีธรรมาภิบาล.พัฒนาระบบการควบคุม กำกับ ประเมินผลของเครือข่าย เขตสุขภาพล้านนา เป็นองค์กรหลักในการประสาน สนับสนุน และจัดการระบบสุขภาพสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี อย่างยั่งยืน goal ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน 4E strategies P & P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence สร้างระบบจัดการเชิงรุกโรคสำคัญ 8 strategic issues HR - 1 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม งานวิจัย ระบบสุขภาพ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการระบบสุขภาพ (1 Region 1 Data) สร้างความเข้มแข็งการจัดบริการปฐมภูมิโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมระบบจัดการภัยพิบัติเข้มแข็งแบบบูรณาการ เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพและศูนย์ความเชี่ยวชาญทางการแพทย์(Excellent Center) และพัฒนาระบบส่งต่อคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งการจัดการสุขภาพภาคประชาชน (Self Care) พัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการระบบสุขภาพ Long term care sepsis Thai refer ICS RDU Aging society Maternal dead Child development NCD TB โดยมี 8 ยุทธศาสตร์สำคัญ ดังนี้  1. สร้างระบบจัดการเชิงรุกโรคสำคัญ 2. สร้างความเข้มแข็งการจัดบริการปฐมภูมิโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 3. ส่งเสริมระบบจัดการภัยพิบัติเข้มแข็งแบบบูรณาการ 4. สร้างความเข้มแข็งการจัดการสุขภาพภาคประชาชน (Self-Care) 5. เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพและศูนย์ความเชี่ยวชาญทางการแพทย์ (Excellent Center) 6. ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม งานวิจัย ระบบสุขภาพ 7. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการระบบสุขภาพ (1 Region 1 Data) 8. พัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการระบบสุขภาพ 10 targets 5 สร้าง 5 เสริม Core value 9 M P H

PA 2561 เขต1 อัตราทารกคลอดก่อนกำหนด ลดลงจากปี 2560 อย่างน้อยร้อยละ 10 หรือ 250 ราย (ปี 2560 ทารกคลอดก่อนจำนวน 2,500 ราย) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่ตรวจคัดกรอง พัฒนาการแล้วพบสงสัยล่าช้าได้รับการ ติดตามภายใน 30 วัน มากกว่า ร้อยละ 80 ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน ร้อยละ 100 และผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง เป้าหมายได้รับการดูแลและยกระดับคุณภาพชีวิต ครบร้อยละ 80