อินทิกรัลของฟังก์ชัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Antiderivatives and Indefinite Integration
Advertisements

Chapter 4 Numerical Differentiation and Integration
FAILURE CRITERIA OF ROCKS
การแตกแรง และ การรวมแรงมากกว่า 2 แรง
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
ตรีโกนมิติ(Trigonometry)
Wang991.wordpress.com Tregonmetry Click when ready 
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
MATLAB Week 7.
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
Chap 4 Complex Algebra. For application to Laplace Transform Complex Number.
การหาปริพันธ์ (Integration)
นายสุวรรณ ขันสัมฤทธิ์
Functions Standard Library Functions User-defined Functions.
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง โปรแกรมคำนวณหาค่า tan
Computer Programming for Engineers
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุมA ด้านประชิดมุมA.
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
Electrical Engineering Mathematic
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Part III, Chapter 10 Numerical Differentiation and Integration Numerical Differentiation and Integration.
ข้อสอบ จำนวนเชิงซ้อน.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ชุดที่ 7 ไป เมนูรอง.
อนุพันธ์ (Derivatives)
Engineering Mathematics II 5 ธันวาคม 2546
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
1. น้ำหนักดินเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 7 เทคนิคการหาปริพันธ์ (Techniques of Integration)
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
Calculus C a l c u l u s.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
เทคนิคการสืบค้น Google วิทยากร : นางสาวเดือนเพ็ญ ญาณประสพ.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
การปรับโครงสร้างและอัตรากำลัง ของกรมการข้าว
บทที่ 6 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
Lesson 7-6: Function Operations
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
ฟังก์ชันของโปรแกรม ฟังก์ชันในโปรแกรม (โปรแกรมภาษา C#) มีฟังก์ชันให้ใช้งานอยู่หลากหลายฟังก์ชัน โดยมีรูปแบบเฉพาะ และการเข้าถึงที่มีลักษณะแตกต่างกัน ในบทนี้จะแสดงเนื้อหาในการใช้งานของฟังก์ชันต่างๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อินทิกรัลของฟังก์ชัน Integral of Function สาขาอุตสาหกรรมศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยี

อินทิกรัล (Integral) คือ ผลลัพธ์ของการคำนวณแบบอินทิเกรต (Integration) คือการคำนวณฟังก์ชันโดยทั่วๆไป เช่นการคำนวณหาพื้นที่ใต้กราฟ หรือหาแรงกระทำต่อวัตถุ อินทิกรัลสามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ 1. อินทิกรัลจำกัดเขต (definite integral) 2. อินทิกรัลไม่จำกัดเขต (indefinite integrals)

อินทิกรัลเบื้องต้น การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน การหาอินทิกรัลของฟังก์ชัน 𝐹(𝑥) 𝑑 𝑑𝑥 𝑓(𝑥)   การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 𝐹(𝑥) การหาอินทิกรัลของฟังก์ชัน

นิยาม ถ้า 𝐹′(𝑥)=𝑓(𝑥) สำหรับทุกๆค่า x ของ ฟังก์ชัน 𝑓(𝑥) แล้วจะได้ค่าของ 𝑓(𝑥) คือ 𝐹 𝑥 +𝑐 เขียนแทนด้วย 𝑓 𝑥 𝑑𝑥 ซึ่งเรียกว่า อินทิกรัลไม่จำกัดเขต (Indenfinite integrals) ของ 𝑓(𝑥) เทียบกับ x สัญลักษณ์ ʃ เรียกว่า เครื่องหมาย อินทิกรัล (Integral symbol) สัญลักษณ์ 𝑑𝑥 เป็นตัวบ่งชี้ว่าให้ อินทิเกรต เทียบกับตัวแปร x

สูตรพื้นฐานของอินทิกรัล 1. 1𝑑𝑥 =𝑥+𝑐 2. 𝑥 𝑛 𝑑𝑥= 𝑥 𝑛 𝑛+1 𝑐 ; 𝑛≠−1 3. 𝑎𝑓 𝑥 𝑑𝑥=𝑎 𝑓 𝑥 𝑑𝑥 ; ให้ a เป็นค่าคงตัวใดๆ   4. 𝑓 𝑥 +𝑔(𝑥) 𝑑𝑥= 𝑓 𝑥 𝑑𝑥+ 𝑔 𝑥 𝑑𝑥 5. 𝑓 𝑥 −𝑔(𝑥) 𝑑𝑥= 𝑓 𝑥 𝑑𝑥− 𝑔 𝑥 𝑑𝑥

6. 1 𝑥 𝑑𝑥= ln 𝑥 +𝑐 7. 𝑒 𝑥 𝑑𝑥= 𝑒 𝑥 +𝑐 9. sin 𝑥𝑑𝑥=− cos 𝑥+𝑐 7. 𝑒 𝑥 𝑑𝑥= 𝑒 𝑥 +𝑐   8. 𝑎 𝑥 𝑑𝑥 = 𝑎 𝑥 ln 𝑎 +𝑐   9. sin 𝑥𝑑𝑥=− cos 𝑥+𝑐   10. cos 𝑥 𝑑𝑥= sin 𝑥 +𝑐 11. tan 𝑥𝑑𝑥= ln 𝑠𝑒𝑐𝑥 +𝑐

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ 2 𝑥 3 −𝑐𝑜𝑠𝑥+7 𝑑𝑥 ใช้สูตร 1𝑑𝑥 =𝑥+𝑐 𝑥 𝑛 𝑑𝑥= 𝑥 𝑛 𝑛+1 +𝑐 ;(𝑛≠−1) 𝑐𝑜𝑠𝑥𝑑𝑥=𝑠𝑖𝑛𝑥+𝑐 2 𝑥 3 −𝑐𝑜𝑠𝑥+7 𝑑𝑥 =2 𝑥 3 𝑑𝑥− 𝑐𝑜𝑠𝑥𝑑𝑥+7 𝑑𝑥 =2 𝑥 4 4 + 𝑐 1 − sin 𝑥+ 𝑐 2 + 7 𝑥+ 𝑐 3

2 𝑥 3 −𝑐𝑜𝑠𝑥+7 𝑑𝑥 = 1 2 𝑥 4 +2 𝑐 1 − sin 𝑥− 𝑐 2 +7𝑥+7 𝑐 3 = 1 2 𝑥 4 − sin 𝑥+7𝑥+(2 𝑐 1 − 𝑐 2 +7 𝑐 3 ) เพื่อความสะดวกสามารถนำค่าคงที่ตัวที่เกิดจากการ อินทิเกรตมารวมกันเป็นค่าคงตัว C ตัวเดียวได้จะได้คำตอบเป็น = 1 2 𝑥 4 − sin 𝑥+7𝑥+𝑐

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ 𝑒 𝑥 + 4 𝑥 𝑑𝑥 ใช้สูตร 𝑒 𝑥 𝑑𝑥= 𝑒 𝑥 +𝑐 𝑎 𝑥 𝑑𝑥= 𝑎 𝑥 ln 𝑎 +𝑐 𝑒 𝑥 + 4 𝑥 𝑑𝑥 = 𝑒 𝑥 𝑑𝑥+ 4 𝑥 𝑑𝑥 = 𝑒 𝑥 + 𝑐 1 + 4 𝑥 ln 4 + 𝑐 2 = 𝑒 𝑥 + 4 𝑥 ln 4 +( 𝑐 1 + 𝑐 2 ) = 𝑒 𝑥 + 4 𝑥 ln 4 +𝑐

การอินทิเกรตโดยการแทนค่า (Integration by Substitution) ในกรณีที่ไม่สามารถอินทิเกรตตามสูตรได้จะ นิยมใช้วิธีการแทนค่ายู (Method of U- Substitution) โดยใช้หลักการดังนี้ 1. 𝑓 𝑔 𝑥 สำหรับการแทนค่า 𝑢=𝑔 𝑥 , 𝑑𝑢=𝑔′ 𝑥 𝑑𝑥 2. หาค่าอินทิกรัลในเทอมของ u 3. แทนค่า u ด้วย g(x) จะได้คำตอบอยู่ ในเทอมของ x

ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่า 𝑥+4 5 𝑑𝑥 อินทิเกรตโดยการแทนค่า u โดยที่ 𝑢=𝑔(𝑥) และ 𝑑𝑢= 𝑔 ′ 𝑥 𝑑𝑥 กำหนดให้ 𝑢=𝑥+4, 𝑑𝑢= 𝑑 𝑑𝑥 𝑥+4 𝑑𝑥 =1dx และ 𝑑𝑥=𝑑𝑢 แทนค่าจะได้ 𝑥+4 5 𝑑𝑥 = 𝑢 5 𝑑𝑢 = 𝑢 5+1 5+1 +𝑐 = 𝑢 6 6 +𝑐

แทนค่า u กลับในสมการจะได้ 𝑥+4 5 𝑑𝑥 = 𝑥+4 6 6 +𝑐 ดังนั้นค่าของ 𝑥+4 5 𝑑𝑥 = 𝑥+4 6 6 +𝑐

ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่า 𝑥 2 𝑥 3 −1 5 𝑑𝑥 อินทิเกรตโดยการแทนค่า u โดยที่ 𝑢=𝑔(𝑥) และ 𝑑𝑢= 𝑔 ′ 𝑥 𝑑𝑥 กำหนดให้ 𝑢= 𝑥 3 −1, 𝑑𝑢= 𝑑 𝑑𝑥 𝑥 3 −1 𝑑𝑥 =3 𝑥 2 𝑑𝑥 และ 𝑑𝑥= 𝑑𝑢 3 𝑥 2

แทนค่าจะได้ 𝑥 2 𝑥 3 −1 5 𝑑𝑥= 𝑥 2 𝑢 5 × 𝑑𝑢 3 𝑥 2 = 1 𝑢 5 × 1 3 𝑑𝑢 = 1 3 𝑢 −5 𝑑𝑢 = 1 3 × 𝑢 −4 −4 +𝑐 =− 1 12 𝑢 4 +𝑐

แทนค่า u กลับในสมการจะได้ 𝑥 2 𝑥 3 −1 5 𝑑𝑥=− 1 12 𝑥 3 −1 4 +𝑐 ดังนั้นค่าของ 𝑥 2 𝑥 3 −1 5 𝑑𝑥=− 1 12 𝑥 3 −1 4 +𝑐

ฟังก์ชัน 𝑓(𝑥) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด 𝑎,𝑏 เรียกผลลัพธ์ของการอินทิเกรตนี้ว่า อินทิกรัลจำกัดเขต (Definite Integral) จะ แสดงโดย 𝑎 𝑏 𝑓 𝑥 𝑑𝑥 อินทิกรัลจำกัดเขต บางครั้งเรียกว่า รีมันน์อินทิกรัล (Riemann Integral) และผลรวมที่ได้จะเรียกว่า ผลรวมรี มันน์ (Remann Sum)

ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ 1 3 𝑥 2 𝑑𝑥 1 3 𝑥 2 𝑑𝑥 = 𝑥 2+1 3 3 1 = 𝑥 3 3 3 1 = 3 3 3 − 1 3 3 = 27−1 3 = 26 3 คำตอบของ 1 3 𝑥 2 𝑑𝑥 = 26 3

ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ −1 1 1−𝑥 3 𝑑𝑥

การอินทิเกรตทีละส่วน (Integration by Parts) ถ้า 𝑢(𝑥) และ 𝑉(𝑥) เป็นฟังก์ชันที่สามารถหา อนุพันธ์ได้โดยกฎของการหาอนุพันธ์ของผลคูณ ของสองฟังก์ชันจะได้ 𝑢𝑑𝑣=𝑢𝑣− 𝑣𝑑𝑢

ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ 𝑥 sin 𝑥 𝑑𝑥 จากสูตร 𝑢𝑑𝑣=𝑢𝑣− 𝑣𝑑𝑢 กำหนดให้ 𝑢=𝑥 𝑑𝑢=𝑑𝑥 𝑑𝑣= sin 𝑥 𝑑𝑥 𝑣=− cos 𝑥 แทนค่าในสูตร จะได้ 𝑥 sin 𝑥 𝑑𝑥= 𝑥 − cos 𝑥 − − cos 𝑥 𝑑𝑥 = −𝑥 cos 𝑥+ sin 𝑥 +𝑐 คำตอบของ 𝑥 sin 𝑥 𝑑𝑥 = −𝑥 cos 𝑥+ sin 𝑥 +𝑐

ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของ 𝑥 𝑥+1 𝑑𝑥 จากสูตร 𝑢𝑑𝑣=𝑢𝑣− 𝑣𝑑𝑢 กำหนดให้ 𝑢=𝑥 𝑑𝑢=𝑑𝑥 𝑑𝑣= 𝑥+1 𝑑𝑥 𝑣= 𝑥+1 𝑑𝑥 𝑣= 𝑥+1 1/2 𝑑𝑥 𝑣= 𝑥+1 1 2 +1 1 2 +1 𝑣= 2 3 𝑥+1 3/2

แทนค่า ในสูตร จะได้ 𝑥 𝑥+1 𝑑𝑥 =𝑥 2 3 𝑥+1 3/2 − 2 3 𝑥+1 3/2 𝑑𝑥 = 2𝑥 3 𝑥+1 3/2 − 2 3 𝑥+1 3/2 𝑑𝑥 = 2𝑥 3 𝑥+1 3/2 − 2 3 𝑥+1 3 2 +1 3 2 +1 = 2𝑥 3 𝑥+1 3/2 − 2 3 2 5 𝑥+1 5 2 = 2𝑥 3 𝑥+1 3/2 − 4 15 𝑥+1 5 2 +𝐶

ตัวอย่างที่ 9 จงหาค่าของ 𝑥 2 sin 𝑥𝑑𝑥 จากสูตร 𝑢𝑑𝑣=𝑢𝑣− 𝑣𝑑𝑢 กำหนดให้ 𝑢= 𝑥 2 𝑑𝑢=2𝑥𝑑𝑥 𝑑𝑣= sin 𝑥𝑑𝑥 𝑣= sin 𝑥𝑑𝑥 =− cos 𝑥

แทนค่าลงในสูตรจะได้ 𝑥 2 sin 𝑥𝑑𝑥 = 𝑥 2 − cos 𝑥 − − cos 𝑥 2𝑥𝑑𝑥 =− 𝑥 2 cos 𝑥− − 2xsin 𝑥 −2𝑥𝑠𝑖𝑛𝑥 𝑑𝑥 =− 𝑥 2 cos 𝑥− −2𝑥 sin 𝑥 −2𝑥 cos 𝑥 =− 𝑥 2 cos 𝑥+2𝑥 sin 𝑥+2𝑥 cos 𝑥 +𝐶