งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค

2 ร่วมกับ I60 – I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)
ตัวชี้วัดที่ : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของแผนงานควบคุมโรคระดับเขต ปี ๒๕๕๙ เป้าหมายปี :  ร้อยละ 82.5 คำอธิบายตัวชี้วัด 1. ผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) หมายถึง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน(E10 - E14) ความดันโลหิตสูง(I10 - I15) อายุ ปีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า 2. จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการในเขตรับผิดชอบ (Type area 1และ 3) 3. กลุ่มเสี่ยงสูงมาก หมายถึง ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมิน CVD Risk แล้วมีระดับความเสี่ยง≥ 30% 4. กลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง หมายถึง กลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้นและรีบด่วน และประเมินซ้ำแล้วมีระดับความเสี่ยง < 30% 5. การประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำ หมายถึง การมีผลประเมินCVD Risk ครั้งแรกรอบ 6 เดือนแรก(ต.ค.-มี.ค.) และครั้งที่ 2 รอบ 6 เดือนหลัง (เม.ย.-ก.ย.) โดยมีระยะห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน หรือ 90 วัน หมายเหตุ : ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน Type area 1 และ 3 - รหัสโรคเบาหวาน E10. - E14. (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ยกเว้น รหัส E10. - E14. ร่วมกับ I60 – I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type) - รหัสโรคความดันโลหิตสูง I10 – I15 ยกเว้นรหัส I11.0, I11.9, I13.0,I13.1,I13.2 ,I และ รหัส I10 – I15 ร่วมกับ I60 – I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)

3 สูตรการคำนวณ : (A / B) x 100 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด
1.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) A = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ ปีที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า B = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ ปี ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ผลการดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง (ระดับความเสี่ยง< 30% ) A = จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง (CVD Risk) ซ้ำแล้วมีระดับความเสี่ยงลดลง(ระดับความเสี่ยง<30% ) B = จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง (CVD Risk) ซ้ำ ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า ร้อยละ - 77.89 (ข้อมูล ณ 19 ก.ย. 59 จากการติดตามผลการดำเนินงานของ สคร1-12)  81.19 (ข้อมูล ณ 24 ส.ค.60 จากระบบ HDC) ผลการดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก(ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง (ระดับความเสี่ยง< 30% ) 75.72 อยู่ระหว่างการพัฒนาการรายงานในระบบ HDC

4 รายละเอียดการดำเนินงาน เอกสารประกอบการประเมิน
ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 1 1.1วิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณ์โรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) 1.2 จัดทำแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) 1.3 การชี้แจง เพื่อถ่ายทอดนโยบาย/ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ การดำเนินงานเพื่อลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) (รอบ 3 เดือน) 1.5 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์โรคโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5 คะแนน) 2. แผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด (0.5คะแนน) 3. มาตรการ/แนวทางการดำเนินงานที่ถ่ายทอดให้กับพื้นที่ ที่รับผิดชอบ (0.25 คะแนน) 4. เอกสารที่แสดงถึงการดำเนินงาน (หนังสือเชิญประชุม / เอกสารประกอบการประชุม/ภาพกิจกรรม)(0.25 คะแนน)

5 รายละเอียดการดำเนินงาน เอกสารประกอบการประเมิน
ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 2 ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ : ให้มีการเร่งรัดการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด [กรณีที่บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดแล้วให้มีการเร่งรัด/ติดตามให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้นและรีบด่วนในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%)] อยู่ในแผนรอบ 6 เดือนแรกด้วย) (รอบ 6 เดือน) 1 1. สรุปผลการดำเนินงานรอบ 6เดือนพร้อมปัญหา แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ร้อยละ 100 ของรอบ 6 เดือนแรก (สิ้นสุด 25 มี.ค.61) (0. 5 คะแนน) (หากไม่มีการนำเสนอผู้บริหารรับทราบหัก 0.05 คะแนน) 2. หนังสือติดตาม เร่งรัดการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในกรณีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด หรือ หนังสือเร่งรัด/ติดตามให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก (≥30%) ในกรณีที่การประเมินโอกาสเสี่ยงบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดแล้ว(0.5 คะแนน) กิจกรรม หน่วยวัด ระดับการให้คะแนน ร้อยละการดำเนินงานตามแผนฯ รอบ 6 เดือน คะแนน 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 ร้อยละ 60 70 80 90 100

6 รายละเอียดการดำเนินงาน
ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 3 ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด เกณฑ์การให้คะแนน (รอบ 9 เดือน) 0.5 สรุปผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน พร้อมปัญหา แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ร้อยละ 100 ของรอบ 9 เดือน (0.5 คะแนน)(สิ้นสุด 25 มิ.ย.61) (หากไม่มีการนำเสนอผู้บริหารรับทราบหัก 0.05 คะแนน) กิจกรรม หน่วยวัด ระดับการให้คะแนน ร้อยละการดำเนินงานตามแผนฯ รอบ 9 เดือน คะแนน 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 ร้อยละ 60 70 80 90 100

7 รายละเอียดการดำเนินงาน
ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 4 4.1 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ≥82.5% (รอบ 12 เดือน) 1.5 1.ผลการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (1 คะแนน) 2.ผลการดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก(ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง (CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง(ระดับความเสี่ยง<30%) ≥35% (0.5 คะแนน) 4.2 กลุ่มเสี่ยงสูงมาก(ระดับความเสี่ยง≥30%) ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง(CVD Risk)ซ้ำแล้วจำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงมากมีระดับความเสี่ยงลดลง(ระดับความเสี่ยง<30%)≥35% คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 ร้อยละ 72.5 75 77.5 80 82.5

8 รายละเอียดการดำเนินงาน เอกสารประกอบการประเมิน
ขั้น ตอน รายละเอียด คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนน 5 ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด เกณฑ์การให้คะแนน (รอบ 12 เดือน) 0.5 รายงานผลการดำเนินงานเพื่อลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) พร้อมทั้งมีการระบุปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข (0.5 คะแนน)(หากไม่มีการนำเสนอผู้บริหารรับทราบหัก 0.05 คะแนน) กิจกรรม หน่วยวัด ระดับการให้คะแนน ร้อยละการดำเนินงานตามแผนฯ รอบ 12 เดือน คะแนน 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 ร้อยละ 60 70 80 90 100


ดาวน์โหลด ppt สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google