การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15 การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น 1. CKO ของสำนัก 2. ประธานทีมงานจัดการความรู้ 3. รองประธานทีมงานจัดการความรู้ 4. ทีมงานด้านการจัดการความรู้ 5. ชุมชนนักปฏิบัติ 6. เจ้าหน้าที่ของส่วน ฝ่าย โครงการ 7. ผอ.ส่วน หัวหน้าฝ่าย ผอ.โครงการ
CKO ของสำนักชลประทานที่ 15 (นายประสิทธิ์ ชรินานนท์) ผส.ชป.15
ให้ความสำคัญและร่วมในกิจกรรม การจัดการความรู้ ประกาศนโยบายการจัดการความรู้
ร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ตามวาระต่าง ๆ
ให้ทีมงานรายงานความก้าวหน้า/ผลการดำเนินการ ในการประชุมประจำเดือนของสำนัก
สนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณในการดำเนินการ สร้างห้องเรียนรู้
งบประมาณจัดโครงการอบรมต่าง ๆ จจ งบประมาณจัดโครงการอบรมต่าง ๆ
งบประมาณในการจัดทำเสื้อทีมงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรม มาจจ งบประมาณในการจัดทำเสื้อทีมงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เสริมสร้างแรงจูงใจ สนับสนุน ยกย่อง ให้รางวัล กล่าวเชิดชูเกียรติและยกย่องในที่ประชุม สนับสนุนให้เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น เสริมสร้างแรงจูงใจ สนับสนุน ยกย่อง ให้รางวัล พิจารณาในการเลื่อนเงินเดือน/ค่าจ้างเพิ่มจากปกติ จัดเวทีสัมมนาให้ ถ่ายทอดความรู้ พร้อมกล่าวเชิด ชูเกียรติ ให้รางวัล สนับสนุนให้เขียนหนังสือถ่ายความรู้ประสบการณ์ในการทำงาน
ประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายสิริวิชญ กลิ่นภักดี) ผชช.ชป.15 ประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายสิริวิชญ กลิ่นภักดี) ผชช.ชป.15
ประธานทีมงานจัดการความรู้ กำกับ ติดตาม และวางแผนการจัดการความรู้ จุดประกายความคิด กระตุ้นให้เห็นความสำคัญ ประชุมติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ ให้คำปรึกษาในทุก ๆ เรื่อง ให้แนวคิดและช่วยหาทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ตื่นตัว สนุก ให้กำลังใจยามเหนื่อยและท้อ
รองประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายพีระศักดิ์ ชมพูนุช) กอบ.ชป.15 รองประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายพีระศักดิ์ ชมพูนุช) กอบ.ชป.15
รองประธานทีมงานจัดการความรู้ มีความรับผิดชอบ ขยัน เสียสละ ทุ่มเท มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ ติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ ร่วมคิดและร่วมแก้ไขปัญหา อุปสรรค ให้กำลังใจยามเหนื่อยและท้อ
ทีมงานด้านการจัดการความรู้ ทีมงานจัดการความรู้ คณะทำงานประมวลและกลั่นกรองความรู้ คณะทำงานรวบรวมและนำเข้าข้อมูล สู่คลังความรู้ ทีมงานตอบประเด็นคำถามและรวบรวม หลักฐาน
ชุมชนนักปฏิบัติ ชุมชนนักปฏิบัติสายงานหลัก 3 ชุมชน ชุมชนนักปฏิบัติสายงานหลัก 3 ชุมชน 1. ชุมชนนักด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ 2. ชุมนักปฏิบัติด้านการบริหารจัดการน้ำ 3. ชุมชนนักปฏิบัติด้านการป้องกันและ บรรเทาภัยภัยอันเกิดจากน้ำ
ชุมชนนักปฏิบัติ (ต่อ) ชุมชนนักปฏิบัติ (ต่อ) ชุมชนนักปฏิบัติสายงานสนับสนุน 5 ชุมชน 1. ชุมชนนักด้านการเงินและบัญชี 2. ชุมนักปฏิบัติด้านพัสดุ 3. ชุมชนนักปฏิบัติด้านธุรการและการเจ้าหน้าที่ 4. ชุมชนักปฏิบัติด้านช่างกล 5. ชุมชนนักปฏิบัติด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และประชาสัมพันธ์
เจ้าหน้าที่ของส่วน ฝ่าย โครงการ 1. สนับสนุนข้อมูล หลักฐานการปฏิบัติงานในส่วน ที่เกี่ยวข้อง 2.ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในการ ทำกิจกรรม 2. เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ ตามวาระต่าง ๆ
ผอ.ส่วน หัวหน้าฝ่าย ผอ.โครงการ 1. ให้ความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรม 2. สนับสนุน ให้ความร่วมมือในการให้ เจ้าหน้าที่ในสังกัดเข้าร่วมกิจกรรม 3. อนุเคราะห์สถานที่และเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือ ในการทำกิจกรรม
จุดอ่อนในการจัดการความรู้ของ สชป.15 การจัดการความรู้ยังไม่ทั่วถึงทั้งองค์การ บุคลากรส่วนใหญ่ยังไม่เห็นความสำคัญ และเห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้ ทีมงานมีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ หลายหน้าที่
จุดอ่อนในการจัดการความรู้ของ สชป.15 (ต่อ) ทีมงานส่วนหนึ่งอยู่ต่างจังหวัดต้องใช้เวลา หลายชั่วโมงในการเดินทางเพื่อมาประชุม หรือทำกิจกรรม กิจกรรมด้านจัดการความรู้หลายกิจกรรมที่ ดำเนินการในช่วงเกือบสิ้นปีงบประมาณ ผลงานด้านนวัตกรรมมีน้อย
จบการนำเสนอค่ะ