มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ของ มสธ. เป็นต้นแบบของการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดย.. ดร.ณ ฤดี ฐิติธราดล
กลไกการจัดการความรู้ คณะกรรมการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย (UKM) คณะกรรมการจัดการความรู้ของหน่วยงาน คณะกรรมการเครือข่ายการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย ชุมชนนักปฏิบัติ งานจัดการความรู้ ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบการจัดการความรู้ ดำเนินการทั่วองค์การ ระบบการจัดการความรู้ ดำเนินการทั่วองค์การ 1 หน่วย ประสานงานกลาง ศปศ. 44 หน่วยงาน 12 สาขาวิชา 11 สำนัก / สถาบัน / ศูนย์ 11 หน่วยงานในสำนักงานอธิการบดี 10 ศูนย์วิทยพัฒนา
ระบบการจัดการความรู้ของ มสธ. (ต่อ) มีแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ระยะ 4 ปี (2557-2560) มีแผนปฏิบัติราชการ ด้านการจัดการความรู้ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (มี 5 ยุทธศาสตร์) ประกอบด้วย
ระบบการจัดการความรู้ของ มสธ. (ต่อ) บูรณาการการจัดการความรู้เข้ากับระบบการทำงานของหน่วยงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเครือข่ายการจัดการความรู้ทั้งภายในและภายนอก เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาฐานความรู้ เพื่อการแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งไปสู่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 5
บทบาทการประสานงานของ ศปศ. 1. ซักซ้อมความเข้าใจ : แผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ 2. ติดตามการกำหนดประเด็นความรู้ประจำปีงบประมาณของหน่วยงาน 3. จัดเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ให้กับหน่วยงาน 4. จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะบุคลากรเพื่อการพัฒนางาน 5. กำกับ ติดตามการรายงานผลการดำเนินงาน รอบ 6,9 และ 12 เดือน
บทบาทการประสานงานของ ศปศ. นโยบายของ UKM 6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน (KM DAY) 7. จัดกิจกรรมเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน(การประกวด Talented People , การประกวดนวัตกรรม) 8. รณรงค์ให้หน่วยจัดตั้งชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) และจัดกิจกรรม 9. ประสานงานให้หน่วยงานจัดเก็บองค์ความรู้ ไว้เป็นฐานข้อมูล
แผนการดำเนินการในปี 2559 (ส่วนเพิ่มเติม) จัดทำระบบฐานข้อมูล เกี่ยวกับนวัตกรรมที่ได้จากการจัดการความรู้ จัดเก็บองค์ความรู้ที่สำคัญๆ ของมหาวิทยาลัย
การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในงาน KM การแจ้งรายชื่อเข้าร่วมกิจกรรมผ่านระบบ Intranet การตอบแบบสอบถาม การใช้ E-mail ในการติดต่อสื่อสาร การใช้ Weblog การใช้ Webcasting ในการจัดประชุมร่วมกับศูนย์วิทยพัฒนา
พันธกิจการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย 1. ทำให้ระบบการจัดการความรู้เป็นวัฒนธรรมของ มสธ. 2. พัฒนาความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อสนับสนุนพันธกิจของ มสธ. 3. ใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบการทำงานให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
KM ใน Q A