จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54 โครงการรณรงค์ จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54 30 มีค. 2554

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย 2. เพื่อขยายฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมีหัวหน้าหน่วยงานส่วนภูมิภาคระดับจังหวัด / อปท. / บุคลากรทางด้านสาธารณสุข / อสม. / บุคลากรในองค์กรภาครัฐ หรือเอกชน 1 แห่ง / และประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 แห่ง เป็นต้นแบบ 3. เพื่อรณรงค์เรื่องโรคอ้วน โดยผ่านบุคคลต้นแบบไร้พุง องค์กรต้นแบบไร้พุง และชุมชนต้นแบบไร้พุง

วัตถุประสงค์ (ต่อ) 4. เพื่อส่งเสริมความรู้และวิธีการที่ถูกต้องในการใส่ใจสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก 3 อ. และสร้าง บุคคลต้นแบบไร้พุง องค์กรต้นแบบไร้พุง และชุมชนต้นแบบไร้พุง

ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตัวชี้วัด สสจ.ชลบุรี ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 79.5% ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 43.5% ตัวชี้วัด สสจ.ชลบุรี รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 3 อ.ครอบคลุมพื้นที่ ไม่น้อยกว่าปีละ 2 ครั้ง มีองค์กร/บุคคล/ชุมชน ลดพุงต้นแบบ อำเภอละ 8 ประเภท (1. ส่วนราชการระดับอำเภอ(ที่ว่าการอำเภอ) 2. อบต./ เทศบาล/เมืองพัทยา 3. โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 4. รพศ./รพ.ช 5. สอ./สสอ./สสจ. 6. อสม 7.ชุมชน 8. สถานประกอบการ) การสำรวจ/รายงาน รอบเอวประชาชน ปีละ 2 ครั้ง (ธค.53 และ มิย.54)

ยุทธวิธีการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ปี 54 ดำเนินโครงการ “สุขภาพดีวิถีไทย” “หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวานมันเค็ม ลดอ้วน ลดโรค” “สนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ฯ” พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง ลดอ้วน ลดโลก พัฒนามาตรฐานคลินิก DPAC (Diet & Physical Activity) ระดับ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป รพ.ชุมชน และ รพ.สต. ขยายจำนวน รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป รพ.ชุมชน และ รพ.สต. ให้มีคลินิก DPAC การนำ Best Practice ขององค์กร โรงเรียน โรงพยาบาล และท้องถิ่นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผล ปรับกระบวนทัศน์การทำงานเป็นทีม เพื่อพัฒนางาน

คำจำกัดความองค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ 1. มีคณะกรรมการการบริหารจัดการองค์กรและชุมชนสู่การเป็นองค์กรและ ชุมชนไร้พุง มีนโยบายที่เหมาะสมจากการระดมสมองของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทุกภาคส่วนก่อให้เกิดองค์กรและชุมชนไร้พุง มีแผนงาน มีการจัดสรรทรัพยากร และกิจกรรมการดำเนินงานที่สอดคล้อง กับนโยบาย และมีการดำเนินงานตามแผนงานจนเกิดเป็นผลลัพธ์ตาม นโยบาย

คำจำกัดความองค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ 4. มีแผนการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการบริโภคอาหารและการใช้แรงกาย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ โดยครอบคลุม ๒ ด้านคือ ด้านกายภาพ ได้แก่ โรงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และมีสถานที่ / อุปกรณ์ในการออกกำลังกาย ด้านสังคม ได้แก่ กฎระเบียบ ค่านิยมทางสังคม และมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการส่งเสริมการผลิตอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ ผักและผลไม้ที่ปลอด สารพิษ, มาตรการการควบคุมการจำหน่ายอาหารที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ได้แก่ขนมเด็ก เครื่อง ดื่มที่มีรสหวาน ฯลฯ และสนับสนุนการจำหน่ายอาหาร ที่ได้มาตรฐานทางโภชนาการ เป็นต้น

คำจำกัดความองค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ 5. มีกระบวนการสร้างทักษะลดพุงให้กับประชากรกลุ่มเป้าหมาย โดยการนำภารกิจ ๓ อ. (อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) มาใช้ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและใช้แรงกาย เช่น มีการบันทึกตามแบบประเมินบัญชีสมดุลพลังงานต่อวัน และแบบติดตามประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเอง

คำจำกัดความองค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ 6. องค์กรและชุมชนไร้พุงสามารถดำเนินการให้เกิดผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ ภายหลัง 6 เดือน 6.1 ร้อยละ 80 ของคนในองค์กรและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมฯ 6.2 มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในองค์กรในทิศทางที่ พึงประสงค์ 6.3 มีการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการบริโภคอาหารและการ ออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ที่ดีขึ้น

คำจำกัดความองค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ 6.4 ในกรณีที่กลุ่มเป้าหมายมีอายุ 15 ปีขึ้นไป ให้ใช้เกณฑ์ชี้วัดรอบ เอว ถ้าหากเป็นผู้ชายรอบเอวปกติคือน้อยกว่า 90 ซม. ถ้าหาก เป็นผู้หญิงรอบเอวปกติคือน้อยกว่า 80 ซม. ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น คือ 6.4.1 ร้อยละ 80 ของผู้ที่มีมีรอบเอวเกิน สามารถลดรอบเอวได้ 6.4.2 ร้อยละ 100 ของผู้ที่มีรอบเอวปกติ สามารถควบคุมรอบ เอวอยู่ในเกณฑ์ปกติ 6.5 ในกรณีที่กลุ่มเป้าหมายมีอายุน้อยกว่า 15 ปี ให้ใช้เกณฑ์ชี้วัด น้ำหนักเทียบกับส่วนสูงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคือ 6.5.1 ร้อยละ 80 ของเด็กที่มีน้ำหนักเกิน สามารถลดน้ำหนักได้ 6.5.2 ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีภาวะปกติ สามารถรักษาน้ำหนักให้อยู่ ในระดับปกติ

การพัฒนาองค์กรไร้พุงสู่การเป็น ศูนย์เรียนรู้ องค์กร/โรงเรียน/ชุมชนไร้พุงต้นแบบ 1. ผ่านเกณฑ์เป็นองค์กร/โรงเรียน/ชุมชนไร้พุงต้นแบบ 2. ศักยภาพขององค์กรสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ได้ ประกอบด้วย 2.1 แกนนำมีความรู้ความสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ 2.2 มีกรอบแนวทางการดำเนินงานจากองค์กร / โรงเรียน / ชุมชน ไร้พุง เป็นต้นแบบไร้พุง 2.3 มีระบบเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุง 2.4 มีมาตรการทางสังคมหรือนโยบายสาธารณะด้านส่งเสริมสุขภาพ 2.5 มีโครงการดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง

สวัสดี