(พิจิตร พิษณุโลกและเพชรบูรณ์)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
รายงานผลการดำเนินงานตาม แผนการปฏิบัติงาน ตุลาคม 51 ถึง พฤศจิกายน 2551 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนา วิศวกรรม กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รายงานผลการดำเนินงานตาม.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายแยกตามยุทธศาสตร์ ปี 2559 คบสจ. รวมคบสจ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 รวม ค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ 18,180,2062,202,89623,521,07543,904,177.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(พิจิตร พิษณุโลกและเพชรบูรณ์) การดำเนินงานเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพประชาชนรอบเหมืองทองคำ พื้นที่รอยต่อ 3 จังหวัด (พิจิตร พิษณุโลกและเพชรบูรณ์)

ผลการดำเนินงานในปีที่ 2559 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข ในการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบกิจการเหมืองทองคำ ในพื้นที่รอยต่อ 3 จังหวัด เมื่อวันที่ วันที่ 21 - 22 ธันวาคม 2558 ณ โรงแรมท็อป แลนด์ จังหวัดพิษณุโลก มีผู้เข้าร่วมฝึกอบรม จำนวน 86 คน

ผลการดำเนินงานในปีที่ 2559 2) การตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชน พื้นที่รอบเหมืองทองคำบริเวณรอยต่อ 3 จังหวัด โดยคณะทำงาน 5 ฝ่าย ในช่วง เดือน สิงหาคม-พฤศจิกายน 2558 มีผู้เข้ารับการตรวคัดกรองสุขภาพ จำนวน 1,002 ราย พารามิเตอร์ที่ตรวจ จำนวนทั้งหมด ผลการตรวจ เกินค่าอ้างอิง ไม่เกินค่าอ้างอิง แมงกานีสในเลือด 1,200 417 (41.61 %) 583 สารหนูในปัสสาวะ 278 (27.74 %) 724 ไทโอไซยาเนตในปัสสาวะ 59 (5.88 %) 943

โลหะหนัก จำนวนทั้งหมด (คน) เกินค่าอ้างอิง (คน) ไม่เกินค่าอ้างอิง สรุปข้อมูลจำนวนประชาชนที่ได้รับการตรวจโลหะหนักในร่างกาย ปี 2557-2558 ผลการตรวจโลหะหนักในร่างกาย จำนวนคนทั้งหมดที่ตรวจโลหะหนักในร่างกาย 1,000 11 7 2 563 As Mn SCN- U=1,583 คน โลหะหนัก จำนวนทั้งหมด (คน) เกินค่าอ้างอิง (คน) ไม่เกินค่าอ้างอิง As 1,572 362 (23.03 %) 1,210 (76.97 %) Mn 1,574 579 (36.78 %) 995 (63.22 %) SCN- 1,002 59 (5.88 %) 943 (94.12 %) หมายเหตุ : 1) จำนวนคนที่ตรวจโลหะหนักทั้งหมดมาจากผลการตรวจตั้งแต่ ปี 2557 ถึง ปี2558 โดยใช้ผลครั้งล่าสุดของแต่ละคน 2) อ้างอิง แมงกานีสในเลือด นิติฯใช้ >1.1 ug/l (serum) สธ.ใช้ > 15 ug/l (whole blood) 3) สารหนูในปัสสาวะ นิติ ใช้ 50 ug/l , สธ ใช้ >40 ug/g creatinine 4) ไทโอไซยาเนตในปัสสาวะ ค่าอ้างอิง : คนที่สูบบุหรี่ <14.5 ml/l ,คนที่ไม่สูบบุหรี่ <8.2 ml/l (การแปลผล ไทโอไซยาเนต ใช้เงื่อนไขที่ว่า ทุกคนไม่สูบบุหรี่ เนื่องจากไม่มีการเก็บข้อมูลการสูบบุหรี่)

จำนวนคนที่มีระดับโลหะหนักในร่างกายเกินค่าอ้างอิง สรุปข้อมูจำนวนประชาชนที่มีผลการตรวจระดับโลหะหนักในร่างกายเกินค่าอ้างอิง จำนวนคนที่มีระดับโลหะหนักในร่างกายเกินค่าอ้างอิง 5 408 201 7 30 17 149 As Mn SCN- U=817คน จากจำนวนคนที่ตรวจโลหะหนักในร่างกาย จำนวน 1,583 คน พบว่ามีจำนวนคนที่โลหะหนักในร่างกายเกินค่าอ้างอิง จำนวน 817 คน แยกเป็นรายละเอียดดังนี้ 1) As เกินค่าอ้างอิงอย่างเดียว = 201 คน 2) MN เกินค่าอ้างอิงอย่างเดียว = 408 คน 3) SCN- เกินค่าอ้างอิงอย่างเดียว = 30 คน 4) As และMN เกินค่าอ้างอิง = 149 คน 5) As และ SCN- เกินค่าอ้างอิง = 7 คน 6) MN และ SCN- เกินค่าอ้างอิง =17 คน 7) As , MN และ SCN- เกินค่าอ้างอิง =5 คน หมายเหตุ : 1) จำนวนคนที่ตรวจโลหะหนักทั้งหมดมาจากผลการตรวจตั้งแต่ ปี 2557 ถึง ปี2558 โดยใช้ผลครั้งล่าสุดของแต่ละคน 2) อ้างอิง แมงกานีสในเลือด นิติฯใช้ >1.1 ug/l (serum) สธ.ใช้ > 15 ug/l (whole blood) 3) สารหนูในปัสสาวะ นิติ ใช้ 50 ug/l , สธ ใช้ >40 ug/g creatinine 4) ไทโอไซยาเนตในปัสสาวะ ค่าอ้างอิง : คนที่สูบบุหรี่ <14.5 ml/l ,คนที่ไม่สูบบุหรี่ <8.2 ml/l (การแปลผล ไทโอไซยาเนต ใช้เงื่อนไขที่ว่า ทุกคนไม่สูบบุหรี่ เนื่องจากไม่มีการเก็บข้อมูลการสูบบุหรี่)

ผลการดำเนินงานในปีที่ 2559 3) มีการติดตาม ดูแล รักษา ผู้ป่วยในพื้นที่ อย่างต่อเนื่อง โดยทีมหมอครอบครัว 4) คืนข้อมูลและสื่อสารความเสี่ยงให้กับประชาชน โดยการจัดกิจกรรมคาราวานสุขภาพ

คณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับ กรณีเหมืองทองคำ (ปี 59) คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและแก้ไขปัญหา ข้อขัดแย้ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ จากการทำเหมืองแร่ทองคำของบริษัท อัครา รีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน) ประธาน : ปลัดกระทรวงอุสาหกรรม+ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขา : ผอ.กองบริหารยุทธ์ศาสตร์ กพร.+ ผอ.สำนัก Env-occ คณะทำงานตรวจสอบและแก้ไขปัญหาผลกระทบ ด้านสุขภาพของประชาชน คณะทำงานตรวจสอบและแก้ไขปัญหาผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม 1)คณะทำงานย่อยประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) คณะทำงานย่อยวางระบบการติดตามตรวจสอบ และวิเคราะห์ สิ่งแวดล้อม 1) คณะทำงานการดูแลสุขภาพของประชาชน 2) คณะทำงานการศึกษาพื้นที่เปรียบเทียบฯ 3) คณะทำงานการแปรผลข้อมูล ภายในกระทรวง คณะกรรมการอำนวยการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และดูแลรักษาโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบกิจการเหมืองทองคำ ประธาน : น.พ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย เลขา : ผอ.สำนัก Env-occ + ผอ.กอง HIA คณะทำงานแก้ไขปัญหาผลกระทบสุขภาพจากมลพิษสิงแวดล้อม กรณีเหมืองทองคำ ประธาน : ดร.นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ เลขา : ผอ.สำนัก Env-occ

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ แผนการดำเนินงาน ปี 2560 ผลักดันนโยบายและสนับสนุนการดำเนินงาน เฝ้าระวังและดูแลสุขภาพประชาชนรอบเหมือง ทองคำ คณะกรรมการอำนวยการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และดูแลรักษาโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบ กิจการเหมืองทองคำ คณะทำงานตรวจสอบและแก้ไขปัญหาผลกระทบ ด้านสุขภาพของประชาชน คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและแก้ไข ปัญหา ข้อขัดแย้ง ผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จากการทำงาน เหมืองทองคำ ของบริษัท อัคราฯ - ประธาน : ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข - เลขา : ผอ.กองบริหารยุทธศาสตร์ กพร. และ ผอ.สำนัก Env-Occ - กรรมการ : ภาครัฐ//สถาบันวิชาการ/เหมือง/ ประชาชน จัดอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากร สาธารณสุขฯ กลุ่มเป้าหมาย : 80 คน ( สคร./สสจ./สสอ./รพศ./ รพท./รพช./รพ.สต) วันที่จัดฝึกอบรม : ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ 2560 สถานที่ : พื้นที่รอยต่อ 3 จังหวัด สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม

แผนการดำเนินงาน ปี 2560 แนวทางการติดตามเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนที่เคยตรวจคัดกรองสุขภาพ กลุ่มที่ 1 ประชาชนที่มีอาการ และผลเลือด ,ปัสสาวะ เกินค่าอ้างอิง กลุ่มที่ 2 ประชาชนที่มีอาการ แต่ผลเลือด ,ปัสสาวะ ไม่เกินค่าอ้างอิง กลุ่มที่ 3 ประชาชนที่ไม่มีอาการ แต่ผลเลือด ,ปัสสาวะ เกินค่าอ้างอิง กลุ่มที่ 4 ประชาชนที่ไม่มีอาการ และผลเลือด ปัสสาวะ ไม่เกินค่าอ้างอิง ประเมินการสัมผัสสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้อน ตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม ตามแนวทางที่กำหนด ตรวจร่างกายโดยแพทย์ ไม่สัมผัส สัมผัส รักษาตามแนวทางที่กำหนด ตรวจร่างกายโดยแพทย์ ติดตาม Biomarker ซ้ำ 6 เดือน ตรวจ Biomarker ซ้ำ ตามดุลพินิจของแพทย์ ไม่เกิน ไม่เกิน เกิน เกิน ให้คำแนะนำเพื่อป้องกันตนเอง

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ แผนการดำเนินงาน ปี 2560 สนับสนุนแนวทาง และสื่อฯ คู่มือการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพประชาชน รอบเหมืองทองคำ ฐานข้อมูล/Fact sheet โลหะหนักที่ เกี่ยวข้อง สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม

สำนักงานป้องกันควบคุมโรค แผนการดำเนินงาน ปี 2560 การติดตามเฝ้าระวังและดูแล สุขภาพอย่างต่อเนื่อง กลุ่มเดิมที่เคยได้รับการตรวจ (ติดตาม การรักษา และติดตาม Biomarker) พัฒนาระบบการเฝ้าระวังสุขภาพ เชิงรับ สนับสนุนให้ สสจ. หรือหน่วยบริการ รวมข้อมูลด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาในพื้นที่ ทำการวิเคราะห์ข้อมูล จากฐานข้อมูล โรค ICD10 ฯลฯ เก็บข้อมูลสุขภาพและสิ่งแวดล้อมใน พื้นที่เปรียบเทียบ (Reference area) อยู่ระหว่างการดำเนินงานในระยะ 2.1 สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ที่ 2-3

สำนักงานป้องกันควบคุมโรค การดำเนินงาน ปี 2559 สนับสนุนการดำเนินงานในหน่วย บริการสุขภาพ Env-occ Unit (รพศ./รพท) Env-occ Center (รพช.) Env-occ Clinic (รพ.สต.) สนับสนุนการสื่อสารความเสี่ยง กิจกรรมคาราวาน สื่อสารความ เสี่ยง และคืนข้อมูล สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ที่ 2-3

ขอบคุณค่ะ