งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558
ประเด็นที่ 2 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการกำจัดขยะ มูลฝอย การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558 สาธารณสุขจังหวัดพิจิตร

2 ข้อมูลทั่วไป จำนวนสถานบริการ และปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ
รพ.ทั่วไป 1 แห่ง รพช. 11 แห่ง รพ.สต. 110 แห่ง รพ.เอกชน 2 แห่ง สถานพยาบาลเอกชน รับผู้ป่วยค้างคืน สถานพยาบาลเอกชน ไม่รับผู้ป่วยค้างคืน 207 แห่ง คลินิกสัตว์ 9 แห่ง ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 545 กก./วัน ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่กำจัด

3 การตรวจประเมินโรงพยาบาลรัฐ และวิธีกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ
การตรวจประเมินโรงพยาบาลรัฐ และวิธีกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ โรงพยาบาลของรัฐ 12 แห่ง ดำเนินการจ้างห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเอนไวรอนเม้น ในการเก็บขน มูลฝอยติดเชื้อที่ส่งกำจัดมีการควบคุมกำกับโดยเอกสารกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ ปัญหาที่พบคือการส่งเอกสารกลับจากโรงงานกำจัดไม่ครบถ้วน

4 วิธีการรวบรวมและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.สต.
รพ.สต.จัดเก็บและรวบรวมส่งกำจัดกับโรงพยาบาลประจำอำเภอ(รพท./รพช.) ปัญหาอุปสรรคการขนส่งจาก รพ.สต. มายังโรงพยาบาลยังขาดยานพาหนะขนส่งโดยเฉพาะ และไม่ได้พิมพ์ชื่อสถานบริการลงบนภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ(ถุงแดง) ทำให้การควบคุมกำกับ หรือสืบค้นที่มาได้ยาก ข้อเสนอแนะ ให้มีภาชนะปิดสนิท เช่น ถังแดงบรรจุถุงแดงก่อนนำส่ง รพ. และเขียนชื่อ รพ.สต.ให้ชัดเจน

5 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของรพ.เอกชน คลินิกเอกชน และคลินิกสัตว์ในพื้นที่
รพ.เอกชน รพ.เอกชน 2 แห่ง และสถานพยาบาลรับผู้ป่วยค้างคืน 1 แห่ง ดำเนินการจ้างบริษัทเอกชน ขนส่งไปกำจัดเช่นเดียวกับ โรงพยาบาลของรัฐ อีก 1 แห่ง ส่งรวมกับ รพท. สถานพยาบาล (ไม่รับผู้ป่วยค้างคืน) ร้อยละ 100 (จากการสำรวจ 198 แห่งจาก 207 แห่ง) ส่งรวมรพ.ของรัฐในพื้นที่ พบปัญหาไม่ได้มีการลงรายการควบคุม (ฝากไม่เป็นทางการ) คลินิกสัตว์ มี 9 แห่ง ยังไม่มีระบบที่ถูกต้อง กำจัดโดยการฝัง

6 การดำเนินงานเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่รอบ การดำเนินกิจการเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร

7 โครงสร้างองค์กร 1.จังหวัดพิจิตร คณะกรรมการ 5 ฝ่าย 2.สสจ.พิจิตร คณะทำงาน 6 ด้าน (ครอบคลุมทุกระดับ) 2.1 ด้านส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาล 2.2 ด้านการควบคุมป้องกันโรคและระบาดวิทยา 2.3 ด้านสุขภาพจิต 2.4 ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.5 ด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพ 2.6 ด้านบูรณาการและศูนย์ข้อมูล

8 โครงสร้างองค์กร (ต่อ)
3.การจัดบริการ 10 En-occ Clinic รพ.สต.ในพื้นที่รอบเหมือง 20 En-occ Center รพ.ทับคล้อ 30 En-occ Unit รพ.พิจิตร

9 3.คืนข้อมูลผลการตรวจเด็ก
ผลการดำเนินงาน 1.ตรวจสุขภาพประชาชน 319 คน 2.ให้สุขศึกษาประชาชน 3.คืนข้อมูลผลการตรวจเด็ก 4.เยี่ยมผู้ป่วยโดยทีมหมอครอบครัว อ.ทับคล้อทุกสัปดาห์ และโดยทีมสหวิชาชีพทุกระดับ เดือนละ 1 ครั้ง 5.คาราวานส่งเสริมสุขภาพทุกเดือน จัดนิทรรศการโดยร่วมกับศูนย์วิชาการส่วนกลาง และหน่วยงานในอำเภอทับคล้อ ให้สุขศึกษา หน่วยแพทย์เคลื่อนที่จาก โรงพยาบาลพิจิตร คืนข้อมูล(คืนข้อมูลน้ำโดยศูนย์อนามัยที่ 8 คืนข้อมูลคนโดยแพทย์ส่วนกลางและพื้นที่)

10 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 6. ร่วมกับกรมอนามัยสำรวจพฤติกรรมบริโภค
7.ร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 8 เฝ้าระวังคุณภาพน้ำ (น้ำประปา บ่อน้ำตื้น โรงงานผลิตน้ำดื่ม) 8.ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เขต 3 เก็บตัวอย่างอาหารตรวจ (ผัก ผลไม้ ข้าว และสัตว์) 9.ร่วมกับสำนักงานระบาดวิทยา เก็บข้อมูลทางระบาดวิทยา 10.พัฒนาบุคลากร (อบรมความรู้โดยวิทยากรส่วนกลาง ศึกษาดูงานแม่สอด) 11. สสจ.พิจิตร สนับสนุนงบประมาณ กิจกรรม 687,050 บาท

11 ประปา 32 แห่ง (เป้าหมาย 100%) บ่อน้ำตื้น 193 บ่อ (เป้าหมาย 100%)
จำนวนจุดเก็บตัวอย่างและผลการการเก็บตัวอย่างน้ำประปา และบ่อน้ำตื้น ประปา 32 แห่ง (เป้าหมาย 100%) บ่อน้ำตื้น 193 บ่อ (เป้าหมาย 100%) ผลการเก็บ ได้รับผลการตรวจ 30 แห่ง ได้รับผลการตรวจ 4 แห่ง โลหะหนัก (เหล็ก,แมงกานีส) แบคทีเรีย โลหะหนัก (แมงกานีส) 31 (96.88%) 5 (16.13%) 21 (67.74%) 27 (13.99%) 1 (25%) 4 (100%) หมายเหตุ - อยู่รอผลการตรวจ 1 แห่ง (หมู่ 8) เนื่องจากเป็นประปาที่เปิดใหม่ - ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้เนื่องจากไม่มีน้ำ (หมู่ 6 ) - อยู่ระหว่างรอผล 23 แห่ง - เหลือเก็บผลอีก 166 แห่ง กรมอนามัย อยู่ระหว่างทบทวนเป้าหมายใหม่เนื่องจากบางบ่อไม่มีน้ำ, บางบ่อไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว ศูนย์อนามัยที่ 8 และ 9 /กรมทรัพยากรน้ำ - ให้คำแนะนำเบื้องต้น แก่ผู้ดูแลประปาเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558 - แจ้งผลการตรวจตัวอย่างน้ำให้ประชาชนในคาราวานส่งเสริมสุขภาพ 24 มิถุนายน 2558 - กำหนดแผนที่จะอบรมผู้ดูแลประปา ในวันที่ กรกฎาคม 2558

12 จำนวนจุดเก็บตัวอย่างและผลการการเก็บตัวอย่างโรงงานผลิตน้ำดื่ม และน้ำบรรจุขวด
โรงผลิตน้ำดื่ม 4 (แห่ง) น้ำบรรจุขวด 12 (หลังคาเรือน) ผลการเก็บ ได้รับผลการตรวจ 4 แห่ง ได้รับผลการตรวจ - แห่ง โลหะหนัก (เหล็ก,แมงกานีส) แบคทีเรีย 4 (100%) ไม่พบ 1 (25%) - จะดำเนินการเก็บในช่วงสิงหาคม 2558

13 การเฝ้าระวังการปนเปื้อนห่วงโซ่อาหาร
1. สำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ใน 9 หมู่บ้าน (ม.2,3,4,5,6,7,8,10และ12) สัมภาษณ์ จำนวน 321 ครัวเรือน รายการ พฤติกรรมบริโภค แหล่งที่มา กลุ่มข้าว/อาหารประเภทแป้ง ปรุงสุก ร้านค้า ตลาดในหมู่บ้านและใกล้หมู่บ้าน หามาบริโภค ปลูกเอง เนื้อสัตว์ (ปลา หอยขม และหนูนา) ผัก/ผลไม้ 2. เก็บตัวอย่างอาหารจากการสำรวจพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน (ใน 9 หมู่บ้านที่สำรวจ) อยู่ระหว่างการแปรผลจากศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เขต 3

14 ประชากร 7,559 คน ตรวจ 480 คน เสี่ยง 242 คน ป่วย 14 คน
ผลการตรวจหาสารโลหะหนักในเลือด จาก ปชช.ในหมู่บ้านรอบเหมือง ม.1 ม.5 ม.6 ม.12 ม.2 ม.8 ม.4 ม.7 ม.9 ม.3 ม.13 ม.11 พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ม.10 ประชากร 7,559 คน ตรวจ 480 คน เสี่ยง 242 คน ป่วย 14 คน โดยสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ (ส.ค.-ต.ค. 2557) จำนวน 732 คน พบผู้ที่มีโลหะเกิน 402 คน คิดเป็นร้อยละ โดยเป็นประชาชนในจังหวัดพิจิตร จำนวน 373 ราย พบผู้ที่มีโลหะเกิน 213 คน คิดเป็นร้อยละ 57.10 โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ก.พ.-มี.ค. 2558) จำนวน 319 คน พบผู้ที่มีโลหะเกิน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18

15 แผนการดำเนินงาน ระยะสั้น
2558 1.จัดทำแผนออกเยี่ยมบ้าน และแผนตรวจสุขภาพ โดยทีมหมอครอบครัวสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยทีมสหวิชาชีพพร้อมจัดคาราวานสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง 2.คืนข้อมูล ด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม 3. จัดทำระบบ GIS เฝ้าระวังให้กับชุมชน 4. นำผลการแก้ไขปัญหาเหมืองทอง เข้าอนุกรรมการสาธารณสุข

16 แผนการดำเนินงาน ระยะกลาง และระยะยาว
ระยะกลาง 1. พัฒนาบุคลากรสาธารณสุข ทุกระดับด้านอาชีวเวชศาสตร์ และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 2. ดำเนินการตรวจคัดกรองให้กับประชาชนกลุ่มดี และกลุ่มเสี่ยง บริเวณพื้นที่รอบ ๆ เหมือง ระยะยาว ดำเนินการเฝ้าระวังด้านสุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนกลุ่มดี และกลุ่มเสี่ยง บริเวณพื้นที่รอบ ๆ เหมือง

17 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (กลุ่มดี/กลุ่มเสี่ยง) แผนระยะสั้น 1 ปี (2558) แผนระยะกลาง 4 ปี ( ) แผนระยะยาว 10 ปี ( ) Health Literacy Screening ยุทธศาสตร์ที่ 2 ระบบบริการและการส่งต่อ (10,20,30) OP และ IP (กลุ่มป่วย) 10 En-occ Clinic 20 En-occ Center 30 En-occ Unit ยุทธศาสตร์ที่ 3 ธรรมาภิบาล GG (การบริหารจัดการ) จัดทำระบบข้อมูล GIS การเฝ้าระวัง พัฒนาบุคลากร งบประมาณ ศูนย์ประสานงาน

18 สวัสดี ตรวจราชการรอบปกติ 2/2558


ดาวน์โหลด ppt การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google