กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ปีงบประมาณ 2561 พระราชดำรัส
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา ภ.ก.สมชาย ละอองพันธุ์ 086-6940954

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 47 เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นระบบให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็น ผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน

ภาพรวมเงิน UC ปี 60 OP IP PP กองทุนย่อย PP_nation PP_ชุมชน 45 บ./ปชก. PP_A (4บ./ปชก.) PP_Basic (360บ.) PP_ชุมชน 45 บ./ปชก. LTC ผู้สูงอายุ ฯ กองทุนฟื้นฟู 16บ./ปชก. อปท. สมทบ 30-60% อบจ. สมทบ 100%

คนไทยสูญเสียช่วงชีวิตที่อยู่อย่างมีความสุข ไปถึง 10. 2 ล้านปี หรือ 10 คนไทยสูญเสียช่วงชีวิตที่อยู่อย่างมีความสุข ไปถึง 10.2 ล้านปี หรือ 10.2 ล้าน DALY ชายไทย การบริโภคแอลกอฮอล์ ร้อยละ 15.7 การสูบบุหรี่ ร้อยละ 11.3 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 6.2 การไม่สวมหมวกนิรภัย ร้อยละ 5.9 ภาวะคอเลสเตอร์รอลสูง ร้อยละ 3.1 หญิงไทย ดัชนีมวลกาย (อ้วน) ร้อยละ 15.7 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 11.3 มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ร้อยละ 6.2 ภาวะคอเลสเตอร์รอลสูง ร้อยละ 5.9 การสูบบุหรี่ ร้อยละ 3.1

แผน สธ.20 ปี และ 5 ปี เป้าหมายเพื่อทำให้คนไทยอายุยืนขึ้นอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี เน้น ลดโรคที่ทำให้เสียชีวิต ลดพฤติกรรมเสี่ยง 1.โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ 2.อุบัติเหตุ 3.ลดอาหารหวาน มันเค็ม งดบุหรี่และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 4.ส่งเสริมการออกกำลังกาย 5.อาหารและโภชนาการ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ 6.บูรณาการการดูแลเด็กปฐมวัยและผู้สูงอายุ 7.ทีมหมอครอบครัวเริ่มขับเคลื่อนงานปฐมภูมิ 8.นายกฯขอให้กระทรวงดูแลในมิติเศรษฐกิจด้วย การใช้สมุนไพร และเครื่องมือทางการแพทย์ที่ผลิตในประเทศฯ

สถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชน 1.ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด เป็นต้น 2.ความปลอดภัยในชุมชน อาชญากรรม อุบัติเหตุ 3.โรคเรื้อรัง 4.โรคติดต่อ 5.อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว 6.ผู้สูงอายุ 7.อาหารและโภชนาการ 8.ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม

ภาพรวมเชิงประเด็นและภาคีเครือข่ายทำงานร่วม ญาลันนันบารู บุหรี่ กองทุนสุขภาพตำบล โภชนาการศพด. ปอเนาะส่งเสริมสุขภาพ DHML รพ./รพ.สต.(สธ.)

เป้าหมายกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2560 เป้าหมายกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2560 เป้าหมาย ตัวชี้วัด บริหารจัดการมีประสิทธิภาพ บริหารเงินคงเหลือเงินไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 80 ลบ.จาก 770 ลบ.) เกิดระบบทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) จังหวัดละ 10 คน ทำหน้าที่ พัฒนาขีดความสามารถของกรรมการ /ชุมชน/พี่เลี้ยง เกิดโปรแกรมระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์ (www.localfund.happynetwork.org) นวัตกรรมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เกิดวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพใน 7ประเด็นร่วม (ชุดความรู้ สภาพแวดล้อม กติกาชุมชน) ผ่านกลไกกองทุนสุขภาพตำบล นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบลจัดทำนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพผ่านเครื่องมือธรรมนูญสุขภาพ 45 แห่ง

กองทุนสุขภาพตำบล - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น NHSO กองทุนฟื้นฟู กองทุนสุขภาพตำบล กองทุน LTC สปสช.45 บ./หัว ปชก. คณะกรรมการ ท้องถิ่นสมทบ 30-60% ค่าบริการ1 แสนบาท/ปี ค่าบริการLTC ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการ 7(1) หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข หน่วยบริการ ประกาศ ฉ.2 CM/40 คน CG/10 คน 7(2) ชมรม/กลุ่มองค์กรภาค ปชช./หน่วยงานอื่น (ครุภัณฑ์< 5,000 บาท) กองทุนชุมชน -แพมเพิส -สัจจะออมทรัพย์ โครงการ อบรม CM-CG สนับสนุนงบประมาณ 7(3) ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการ(> 15%ของงบประมาณปีนั้น) ลงให้บริการตาม CP ครุภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพประจำศูนย์ฯ 7(4) งบบริหารจัดการ (< 15%ของงบประมาณปีนั้น) ทำระบบข้อมูลผู้สูงอายุ-คนพิการ กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพจิต-พบปะสังสรรค์ 7(5) งบภัยพิบัติและโรคระบาด (< 5%-10 %ของงบประมาณปีนั้น) กิจกรรมเสริมด้านการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

สถานการณ์เงินกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา จังหวัด เงินคงเหลือ สปสช.จัดสรร อปท.สมทบ รวม ตรัง 48,685,899 27,551,835 13,619,093 89,856,827 นราธิวาส 56,532,165 34,263,945 17,158,568 107,954,678 ปัตตานี 51,048,138 31,021,245 15,519,004 97,588,387 พัทลุง 27,563,332 21,733,515 13,090,822 62,387,669 ยะลา 45,877,694 24,209,955 11,783,939 81,871,588 สงขลา 141,517,761 66,072,960 36,769,241 244,359,963 สตูล 18,502,811 13,526,010 8,194,468 40,223,289 389,727,800 218,379,465 116,135,136 724,242,400

ร้อยละของการใช้เงินกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ณ 13 ก.พ.60 ร้อยละของการใช้เงินกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ณ 13 ก.พ.60 เร่งเบิกจ่ายโครงการ ก.พ.60 มิ.ย.60

จำนวนโครงการและเงินที่กองทุนสุขภาพตำบลให้การสนับสนุน % 34 20.6 5.7 20.49 4.1 14.4 100

จำนวนโครงการและงบประมาณแต่ละจังหวัด งบปี 60 อัตราใช้ 89,856,827 16 107,954,678 19 97,588,387 17 62,387,669 11 81,871,588 11.6 244,359,963 12.9 40,223,289 12.5 724,242,400 15

องค์ประกอบความเชื่อมโยงขององค์กรและบทบาทของฝ่ายต่างๆ ในระบบสุขภาพชุมชน

แนวคิดการดูแลเด็กและเยาวชน 7 ระดับ นโยบายสาธารณะ (Public Policy) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการต่างๆ และมีสุขภาวะที่ดี การเข้าถึงบริการสุขภาพ การจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน กองทุนสวัสดิการชุมชนสำหรับเด็กและเยาวชน การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน ประเด็น การพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก การแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนกับการสูบบุหรี่และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การแก้ปัญหาเด็กติดเกม การแก้ปัญหาความรุนแรงในเด็กและเยาวชน การสนับสนุนให้มีโรงเรียนพิเศษหรือห้องเรียนพิเศษในโรงเรียนเพื่อจัดการศึกษาให้แก่เด็กพิเศษในพื้นที่

แนวคิดการดูแลเด็กและเยาวชน 7 ระดับ(ต่อ) 2. ระบบข้อมูล (Information) การมีและใช้ประโยชน์ข้อมูล เช่น ข้อมูลสุขภาพ เพื่อตรวจคัดกรองและให้บริการสุขภาพเด็กและเยาวชนที่เหมาะสม ข้อมูลวัยรุ่นในชุมชน 3. ระบบบริการสุขภาพพื้นฐาน (Primary Health Care) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการสุขภาพ ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ เช่น ส่งเสริมภาวะโภชนาการ ส่งเสริมการออกกำลังกาย การป้องกันโรค เช่น ฉีดวัคซีน ตรวจร่างกาย ตรวจสุขภาพฟันและช่องปาก ตรวจวัดระดับการได้ยิน ตรวจวัดสายตาและตาบอดสี เอ็กซเรย์ปอด ตรวจวินิจฉัยโรคโลหิตจางทางพันธุกรรม-ให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม การรักษา การฟื้นฟูสภาพ และได้รับบริการปรึกษาด้านจิตใจ ตลอดจนสามารถเข้าถึงบริการรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพในสถานพยาบาลที่ต้องการสถานพยาบาลใกล้บ้าน

แนวคิดการดูแลเด็กและเยาวชน 7 ระดับ(ต่อ) 4. การเปิดพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม (สังคม วัฒนธรรม จิตใจ) (Public & Social Space) เพื่อให้เด็ก เยาวชน ครอบครัว และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและมีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคม เช่น การจัดกิจกรรมของศูนย์เด็กเล็ก วัด โรงเรียน ชุมชน ชมรม to be number one กิจกรรมรณรงค์ต่างๆ 5. สวัสดิการ (Welfare) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กได้รับการดูแลที่เหมาะสมตามวัย เช่น ให้บริการปัจจัย 4 การดูแลรักษาพยาบาล พัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ การศึกษา การฝึกอาชีพ นันทนาการฯลฯ ตลอดจนให้การศึกษาและฝึกทักษะอาชีพแก่เด็กและเยาวชน เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได้ต่อไป

แนวคิดการดูแลเด็กและเยาวชน 7 ระดับ(ต่อ) 6. สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย (Environment and Safety) เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ อาชญากรรม และความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน ตลอดจนการรับสื่อที่ไม่เหมาะสม เช่น การจัดที่อยู่อาศัย สภาพแวดล้อมในชุมชนให้ปลอดภัยจากแหล่งมั่วสุมต่างๆ 7. พัฒนาศักยภาพและเสริมพลัง (Strengthening & Empowerment) เพื่อให้เด็กและเยาวชนพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาการ ทักษะชีวิต ภูมิคุ้มกันตนเอง รู้เท่าทันสื่อ และลดการเข้าถึงแหล่งอโคจร แหล่งอบายมุข ยาเสพติด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ พัฒนาทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการจัดการเรียนร่วมแก่ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง เพื่อให้การช่วยเหลือเด็กพิเศษ จัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้

แนวทางการสนับสนุนส่งเสริมศูนย์ดูแลเด็กเล็ก ตามประกาศฯข้อ 7 เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ (3) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ของศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ หรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด เป็นเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น

แนวทางและหลักเกณฑ์สนับสนุนงบ 1.ศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ชื่ออื่น ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน 2. มีอาคารสถานที่เป็นที่ตั้งที่ทำการของศูนย์ฯ เป็นการถาวร 3. บริหารจัดการศูนย์โดยมีกลไกของคณะกรรมการ 4. มีการจัดทำแผนเงิน/แผนงบประมาณ และแผนการดำเนินงาน 5. มีการกำหนดเวลาทำการหรือเวลาให้บริการของศูนย์ฯ และกำหนดหรือระบุตัวบุคคลผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์ฯ 6. มีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของศูนย์ฯ 7. มีการจัดทำข้อมูลหรือระบบข้อมูลที่จำเป็น 8. จัดทำสรุปผลงานหรือรายงานผลการดำเนินงานของศูนย์ฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ คณะกรรมการกองทุนฯ สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก กิจกรรม ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก คณะกรรมการศูนย์ฯ กิจกรรม ศูนย์ดูแลสูงอายุ กิจกรรม ศูนย์ดูแลคนพิการ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เช่น - สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กดีในศูนย์ดูแลเด็กเล็กโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน - จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็ก และเด็กก่อนวัยเรียน - ประเมินภาวะโภชนาการ เฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน - การส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน -การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน - การส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - เด็กพิเศษสามารถเข้าถึงบริการรักษาในสถานพยาบาลที่ต้องการหรือสถานพยาบาลใกล้บ้าน พัฒนาทักษะชีวิตเด็กนักเรียนและเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน กลุ่มเป้าหมาย - กลุ่มเด็กแรกเกิด - กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน - กลุ่มปฐมวัย

พัฒนาศักยภาพกลไกพี่เลี้ยง การพัฒนาโครงการตามกรอบ Mappingและวางกรอบการดำเนินงาน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด การดำเนินงานที่สำคัญ พัฒนาเป็นแผนงานกองทุนระดับ เขต ประเด็นร่วม:โรคเรื้อรัง โรคติดต่อ ยาเสพติด อาหาร ขยะและสิ่งแวดล้อม เด็ก คนพิการผู้สูงอายุและครอบครัว ออกแบบ และพัฒนาระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบล Online เพื่อหนุนเสริม ติดตาม และประเมินผล พัฒนาศักยภาพกลไกพี่เลี้ยง การพัฒนาโครงการตามกรอบ หนุนเสริม ติดตาม ประเมินผล พัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ การจัดทำแผนการดำเนินงานของกองทุน การพัฒนาโครงการตามประเด็น พี่เลี้ยงลงพื้นที่หนุนเสริมเรื่อง การทำแผนงานและการพัฒนา พิจารณาโครงการ พัฒนาและพิจารณาโครงการแต่ละกองทุนฯ การดำเนินโครงการและการลงระบบข้อมูลติดตาม ประเมินผล พี่เลี้ยงลงพื้นที่หนุนเสริมการดำเนินโครงการและการลงข้อมูลติดตามประเมินผลโครงการ การสรุปงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทบทวนการดำเนินงาน

พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 2 รุ่น

ตารางการจัดสรรงบบริหารสำหรับทีมพี่เลี้ยง(Coaching Team) รายจังหวัด กองทุน ค่าใช้จ่าย ลักษณะทำงาน ผลความสำเร็จ สงขลา 140 100000 TOR จ้างทำของ 1.ทุกกองทุนมีแผนงาน/โครงการ สตูล 41 60000 2.มีเงินคงเหลือในกองทุนฯเท่ากับ 10% ตรัง 99 90000 3.องทุนสุขภาพตำบลลงข้อมูลโครงการในเว็บไซต์บริหารกองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ www.localfund.happynetwork.org ภายใน พ.ค.60 พัทลุง 73 70000 4.ทุกกองทุนสุขภาพตำบลลงผลการดำเนินโครงการในโครงการในเว็บไซต์บริหารกองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้localfund.happynetwork.org ภายใน ส.ค. 60 ปัตตานี 113   ยะลา 63 นราธิวาส 88 80000 617 560000

สูญเสียทางทรัพยากรและไม่สร้างความเข้มแข็งคนทำงาน

ข้อจำกัดในการดำเนินงานกองทุนตำบล 1.กรรมการกองทุนฯเข้าใจไม่ตรงกัน ในเรื่อง บทบาทกองทุน ทิศทางแนวทางการดำเนินงานของกองทุน ทั้งนี้ในคู่มือเน้นระบบบริการสาธารณสุขเป็นหลัก ยังไม่ครอบคลุมปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 2.ความไม่ชัดเจนเรื่องระเบียบการใช้เงิน 3.เครือข่าย กลุ่มในชุมชน ไม่สามารถเข้าถึงกองทุน ส่วนใหญ่โครงการที่ถูกจัดสรรให้ รพ.สต.ท้องถิ่นทำเอง หรือกลุ่มเดิมๆ 4.ผู้รับผิดชอบโครงการบริหารโครงการไม่ได้ ทั้งการเขียนโครงการ การดำเนินงาน การทำรายงานโดยเฉพาะการเงิน 5.ท้องถิ่นมองว่าเป็นภาระ ให้ความสำคัญกับกองทุนน้อย

ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

กิจกรรมหลัก - กิจกรรมย่อย โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โครงการบริหารกองทุน ประชุมกรรมการ/ประชุมแผนงาน ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4 จัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ จัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครั้งที่ 1 จัดซื้อครุภัณฑ์ …….. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครั้งที่ 2

ได้อะไรจากการบันทึกกิจกรรม ผลผลิต ผลลัพท์ ภาพถ่ายกิจกรรม ภาพถ่ายใบเสร็จรับเงิน สรุปค่าใช้จ่ายตามหมวด รายละเอียดค่าใช้จ่าย

พัฒนาระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบลออนไลน์

ระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

4 สิ่งไม่ต้องทำแล้ว ปี 60 เมื่อใช้โปรแกรมใหม่ localfund. happynetwork 4 สิ่งไม่ต้องทำแล้ว ปี 60 เมื่อใช้โปรแกรมใหม่ localfund.happynetwork.org ไม่ต้องส่งใบตอบรับเงินโอน/ใบเสร็จ มาที่ สปสช.กลางหรือเขต ไม่ต้องทำบัญชีรายรับ-จ่ายของกองทุนฯ(ลงในการเงินกองทุน) ไม่ต้องส่งรายงานการเงินรายเดือน และรายไตรมาส รายปี (ระบบจะทำให้อัตติโนมัติ) ไม่ต้องส่งรายงานสรุปผลดำเนินงานประจำปี(หากรายงานกิจกรรม)

ทีมพัฒนาระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์

ลงข้อมูลแผนงานโครงการกิจกรรมกองทุนสุขภาพตำบลแก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน

ทำธรรมนูญสุขภาพ 45 แห่งผ่านกองทุนสุขภาพตำบล

อปท.ใช้เครื่องมือธรรมนูญสุขภาพจัดทำนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพใช้งบบริหาร 7(4) กองทุนสุขภาพตำบล

แนวทางแก้ไขกองทุนสุขภาพตำบลค้างท่อเกิน 2 ล้านบาท คณะทำงาน (ท้องถิ่น จ.-สปสช.-สธ.) Workshop (28-11-59) สจรส.มอ. แผนสุขภาพกองทุนตำบลระดับเขต ระยะเวลา 3 ปี เป้าหมาย สปสช.เขต-สธ.- สจรส.มอ.- อปท. (กองทุนสุขภาพตำบลคงเหลือ 25 แห่ง) ผลผลิต:แผนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี ประเด็นร่วม - ผู้สูงอายุ - โรคเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน) - แม่และเด็ก - อุบัติเหตุและความปลอดภัยในชุน - ขยะและสิ่งแวดล้อม อาหาร-โภชนาการ บุหรี่ ยาเสพติด โครงการแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี ทีมพี่เลี้ยงสนับสนุน ปรับแผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพตำบล

กระบวนการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพฯ เขต 12 เงินกองทุนเหลือมากกว่า 2 ล้านบาท(25 แห่ง)

เสริมสร้างการเข้าถึงงบประมาณญาลันนันบารู

ขั้นตอนดำเนินงานโครงการญาลันนันบารู วันเดือน ปี วิธิการ 16-19 ม.ค.60 สจรส.ม.อ.+ สปสช.พัฒนาศักยภาพญาลันนันบารู รุ่น 1 และ 2 23-31 ม.ค.60 สปสช.ประสานพี่เลี้ยงประจำกองทุน ช่วยปรับและพัฒนาโครงการให้สมบูรณ์และสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบลได้ สปสช.ทำหนังสือแจ้ง อบต./เทศบาล เพื่อให้สนับสนุนเงินทำโครงการฯและแจ้งการเชิญ นายก อปท./เลขากองทุน 1 คน เข้าร่วมพิจารณาโครงการ 26 ก.พ.60 ญาลันนันบารูทำโครงการลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาวะ(ยาเสพติด) ส่งผู้นำ 28ก.พ.60 สจรส.ม.อ.-สปสช. –นายก อปท.ร่วมพิจารณาโครงการฯ แกนนำนำเสนอโครงการ รร.เซาเทอร์นวิว จ.ปัตตานี กองทุนสุขภาพตำบลสนับสนุนเงินดำเนินโครงการ

แนวทางการทำงกองทุนสุขภาพตำบล 15 ก.พ.60 ประชุมสร้างความเข้าใจการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลและ LTC ร่วมกับ สตง.กลาง พี่เลี้ยงประจำกองทุน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนฯ(นายก/ปลัด) สตง.จังหวัด 16-17 ก.พ.60 พิจารณาและโครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนการใน ศพด. เพื่อใช้งบ 7(3) ของกองทุนสุขภาพตำบล ร่วมกับท้องถิ่นจังหวัด สปสช. -พมจ. ประชุมเชิงปฏิบัติการ ญาลันนันบาลูเพิ่มการเข้าถึงเงินกองทุนสุขภาพตำบล (พิจารณาโครงการร่วม 28 ก.พ.60 ณ ค่ายสิรินธร จ.ปัตตานี) 28 มี.ค.-10 เม.ย.60 คณะทำงานระดับเขต 12 ลงนิเทศติดตามกองทุนฯเหลือเยอะ (มากกว่า 2 ล้านบาท) ระหว่างนี้มอบหมาย PM ที่เกี่ยวข้องพัฒนาชุดโครงการในแต่ละประเด็น

ตารางการลงนิเทศกองทุนสุขภาพตำบล วันเดือนปี จังหวัด ทีมติดตาม 28 มี.ค.60 นราธิวาส (11 แห่ง) 1.ผอ./รอง ผอ. 29 มี.ค.60 ยะลา (13 แห่ง) 2.ท้องถิ่นจังหวัด 30 มี.ค.60 ปัตตานี( 22 แห่ง) 3.ประธานพี่เลี้ยงประจำจังหวัด 31 มี.ค.60 ตรัง (15 แห่ง) 4.เลขาพี่เลี้ยงจ.หวัด 3 เม.ย.60 สงขลาโซน 1( 24 แห่ง) 5.ตัวแทนศูนย์ประสานภาค ปชช. 4 เม.ย.60 พัทลุง (18 แห่ง) 6.ตัวแทน อปท. 5 เม.ย.60 สตูล (12 แห่ง) 7.ตัวแทนวิชาการ 10 เม.ย.60 สงขลา โซน 2 (18 แห่ง) 8.โปรแกรมเมอร์ 9.หัวหน้างานกองทุนสุขภาพตำบล