ค่าจ้างต้องสมดุลกับผลิตภาพ : ทางออกแรงงานไทยก้าวผ่านเศรษฐกิจดิจิทัล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แสดงให้คุณ SLIDEPLAYER.IN.TH
Advertisements

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร. - The ONE = IT เราจะเป็นที่หนึ่งของ ภาคอีสาน - The Fifth = เราจะเป็น 1 ใน 5 ของ ประเทศไทย - Slocan = เราจะมีสโลแกนที่ทำให้
การทำตัวอักษรขึ้นต้นด้วย ตัวใหญ่ นางสาว ลลิตา เจริญผล
การใช้ โปรแกรม PowerPoint. เปิดโปรแกรม Power Point คลิกที่ปุ่ม Start > เลือก Programs > Microsoft Office > Microsoft Office Power Point.
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
การลงใบความเสี่ยง (IR) ใน Hosxp โดยทีมความเสี่ยง โรงพยาบาลควนเนียง.
นางสาวจันสิมา ดีสมบูรณ์ ชื่อเล่น น้องเก๋ ตำแหน่ง ครู วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีชัยนาท Phone : Facebook :
ส่งเสริมให้คำที่ปรึกษาและบริการความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
นำเสนอ “นวัตกรรมดีเด่น” และ
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
สื่อประสมทางการศึกษา
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
โครงงานวิทยาศาสตร์ (ว 23202)
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
Power Point ประกอบการจัดการเรียนรู้
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียงพ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
กลุ่มงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซด์นี้...
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
การพัฒนาการจัดการ และมาตรฐานการบริการ
การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
MOCKUP PACKAGE Digital Restaurant.
การตรวจเอกสาร ใบคำขออนุญาตประกอบวิชาชีพครู
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
สำนักงาน กศน.จังหวัดยะลา
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ CLMV
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
การถอดบทเรียน แนวทางการจัดทำวิจัย เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ
TIM2303 การขายและการตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
Adam’s Love.
การคัดกรองตาบอดสี กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา
ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
เอเชียตะวันออก พัฒนาการของ เฉียงใต้.
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
GSC151 ชีวิตและสภาพแวดล้อมในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
การแก้ไขข้อบกพร่องระบบ GMP จากการตรวจรับรองโรงงานเพื่อการส่งออก วันที่
การออม (Saving) : Week 9.
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกา
แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าจ้างต้องสมดุลกับผลิตภาพ : ทางออกแรงงานไทยก้าวผ่านเศรษฐกิจดิจิทัล โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป และรองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย การประชุมสัมมนา “อนาคตค่าแรง ค่าจ้างขั้นต่ำของไทย ทางออกจะไปทางไหนในยุคไทยแลนด์ 4.0” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) วันที่ 12 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพ ฯ

ค่าจ้างภายใต้บริบท : ดิสรัปทีฟเทคโนโลยี 1) ทิศทางของประเทศไทย ภาคเอกชนต่างเร่งที่จะนําเทคโนโลยี 4.0 เช่น หุ่นยนต์เชิงพาณิชย์, ปัญญาประดิษฐ์, ระบบออโตเมชั่นและแอปพลิเคชั่นอัจฉริยะเข้ามาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุน ผลิตภาพแรงงาน และทดแทนแรงงานมนุษย์ 2) ดิสรัปทีฟเทคโนโลยีลดความเสี่ยงในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน เช่น ความไม่แน่นอนของค่าจ้าง, แรงงาน สัมพันธ์ และกฎหมายแรงงาน 3) ประโยชน์ของเทคโนโลยี 4.0 สามารถแก้ปัญหาในเรื่องของประสิทธิภาพการผลิต แก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานและด้านการพัฒนาทักษะ 4) ความท้าทายในอนาคตแรงงานอาจต้องเผชิญกับการเข้ามาแทนที่ของสมาร์ทเทคโนโลยี ในรูปแบบต่างๆ อาจเป็นทั้งโอกาสของแรงงานกลุ่มใหม่ ขณะเดียวกันอาจเป็นภัยคุกคามทั้งของผู้ประกอบการและหรือกลุ่มแรงงานซึ่งด้อยโอกาส 5) ผลกระทบที่จะตามมาจากความไม่แน่นอนของการจ้างงาน ย่อมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เทคโนโลยีเหล่านี้นําเข้าเพื่อใช้ในการทดแทนแรงงานจากมนุษย์ 2/19 www.tanitsorat.com

การใช้หุ่นยนต์และเทคโนโลยีเป็นการตอบโจทย์เศรษฐกิจดิจิทัล เศรษฐกิจดิจิทัลขับเคลื่อนจากวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีก้าวหน้า นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ภาคเอกชนไทยมีการตื่นตัวและตอบรับในการเพิ่มสัดส่วนการใช้สมาร์ทเทคโนโลยี ปัจจุบันสัดส่วนการใช้หุ่นยนต์ต่อแรงงานของไทยอยู่ในลำดับ 10 ของโลกและในอาเซียนไทยอยู่ในลำดับที่ 1 2) แนวโน้มการเร่งตัวเพิ่มสัดส่วนของเทคโนโลยี ไม่ใช่เฉพาะอยู่ในภาคการผลิตแต่การเร่งตัวอยู่ในภาคบริการ เช่น เทคโนโลยีฟินเทคของสถาบันการเงิน, โมบายแบงก์กิ้ง, อี-คอมเมิร์ซ ฯลฯ 3) การจ้างงานในอนาคตอาจลดน้อยถอยลง อาจมีส่วนทำให้การพึ่งแรงงานในอนาคตลดน้อยถอยลงหรือชะลอตัวเป็นทางเดินของประเทศที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 4) ความเสี่ยงของการก้าวผ่าน เกี่ยวกับความพร้อมของแรงงานกลุ่มด้อยโอกาสทั้งด้านทักษะต่ำการศึกษาน้อยและแรงงานอายุมาก เป็นกลุ่มด้อยศักยภาพมีจำนวนมากจะไปด้วยกันได้อย่างไรเป็นความท้าทายค่อนข้างสูง www.tanitsorat.com 3/19

โครงสร้างอายุแรงงานไทยครึ่งหนึ่งเป็นแรงงานค่อนข้างอายุมาก กลุ่ม อายุ ความเสี่ยง สัดส่วนร้อยละ จำนวนแรงงาน (ประมาณ) 1 20-29 ปี ต่ำ 21.1% 7.9 ล้านคน 2 30-39 ปี ต่ำ-ปานกลาง 25.4% 9.51 ล้านคน 3 40-49 ปี เริ่มมีความเสี่ยง ต้องปรับตัว 25.1% 9.40 ล้านคน 4 50-59 ปี เสี่ยง 17.7% 6.63 ล้านคน 5 60 ปีขึ้นไป เสี่ยงมาก 7.7% 2.88 ล้าน ที่มา : ข้อมูลทุติยภูมิ สนง.สถิติแห่งชาติและกรมจัดหางาน ไตรมาส 1/2560 www.tanitsorat.com 4/19

ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์, สถานการณ์และการเตือนภัยแรงงาน กระทรวงแรงงาน และสำนักงานประกันสังคม (30 มิ.ย.2561) 5/19

อุตสาหกรรมไทยที่มีศักยภาพการใช้เทคโนโลยีออโตเมชั่น ลำดับ รายละเอียด 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. ยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์-แผนวงจร-ฮาร์ดไดร์ เหล็กรีดร้อนและรีดเย็น, โลหะ ผลิตภัณฑ์ยางและยางรถยนต์ เม็ดพลาสติกและผลิตภัณฑ์จากเม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมีคอล ส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน อุตสาหกรรมเลนซ์ 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. ผลิตกระป๋องบรรจุอาหาร สายไฟฟ้าสายเคเบิ้ล ทองแดงและผลิตภัณฑ์จากทองแดง การแปรรูปอาหาร,อาหารและเครื่องดื่ม ยา-เครื่องสำอาง อุปกรณ์การแพทย์ เยื่อและกระดาษ ตลับลูกปืน อะไหล่และโมลด์ขึ้นรูป อุตสาหกรรมผลิตหุ่นยนต์และชิ้นส่วน ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์ (2561) www.tanitsorat.com 6/19

โจทย์ของอนาคต : การรับแรงงานใหม่จะชะลอตัว แรงงานใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงาน ปีละ 640,667 คน ร้อยละ53 จบป.ตรี สถานประกอบการ เฉลี่ยรับได้ 3.718 คน/ปี มีผู้ขอรับสวัสดิการว่างงาน 1.653 แสนคน (มิ.ย.61) สถานประกอบการมีแนวโน้มชะลอการจ้างงาน เทคโนโลยีก้าวหน้าประสิทธิภาพดีกว่า แรงงานมนุษย์ แขนกลอุตสาหกรรม 1 ตัวทดแทนแรงงาน 7-10 คน ลดไลน์การผลิต 3/4 ผลผลิตมากกว่า คุณภาพดีกว่า ใช้เวลาน้อยกว่า ลดความเสี่ยงด้านแรงงานดีกว่า ราคาเทคโนโลยีออโตเมชั่นลดลงสวนทางต้นทุนค่าจ้างสูงขึ้น ระยะเวลาคุ้มทุน 3-5 ปีขึ้นอยู่ กับความซับซ้อน-อัตราค่าจ้าง และสัดส่วนต้นทุนแรงงาน แขนกลในอุตสาหกรรมยานยนต์ สามารถคืนทุนได้ 1-2 ปี การลดน้อยถอยลงของอุปสงค์แรงงาน คาดการณ์ว่าในอีก 10 ปีข้างหน้าผลกระทบจาก เทคโนโลยีจะทำให้แรงงานในอุตสาหกรรมลดลง 6.5 แสนคน และแรงงานภาคบริการจะ ลดลงในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน www.tanitsorat.com 7/19

กลุ่มแรงงานที่เสี่ยงอาจทดแทนจากเทคโนโลยี ลำดับ คลัสเตอร์ จำนวนแรงงาน (คน) ความเสี่ยงต่ำ (ร้อยละ) ความเสี่ยง ปานกลาง ความเสี่ยงสูง 1. ลูกจ้างภาคเกษตร 1,695,815 2.34 40.85 56.81 2. อุตสาหกรรมการผลิต 4,992,130 24.10 20.90 55.0 3. ก่อสร้าง 1,817,151 21.82 49.85 28.33 4. ค้าปลีก-ค้าส่ง 2,476,605 35.93 9.33 54.74 5. บริการอื่นๆ 7,486,922 60.67 11.17 28.10 18,468,623 ที่มา : INDUSTRIAL ROBOT AND IT IMPACT : พัชรพร และนันทนิตย์ (2018) คำนวณเป็นสัดส่วนโดย ดร.ธนิต โสรัตน์ www.tanitsorat.com 8/19

เทคโนโลยีก้าวหน้า ในปี 2570 ส่งผลต่อการลดลงของตำแหน่งงาน (ร้อยละ) แรงงานอุตสาหกรรมใช้เครื่องจักรพื้นฐาน 24-27% แรงงานด้านตรวจสอบสินค้าในสายการผลิต (QC) 20-25% แรงงานเกี่ยวกับทำเอกสารคีย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ 19-23% แรงงานใช้ทักษะพื้นฐาน (Basic & Manual Skill) 14-17% ช่างซ่อมและช่างเทคนิค 9-11% แรงงานเครื่องยนต์สันดาป 9-10% แรงงานในคลัสเตอร์สินค้า-บริการและงานของยุค 3.0 มากกว่า 50-100% แรงงานอายุ 40 ปีขึ้นไปและทักษะต่ำ (หากปรับตัวไม่ทัน) มากกว่า 50% คนงานในภาคการผลิต 10 คน จะหายไป 7 คน สื่อสิ่งพิมพ์, สถาบันการเงิน, ขายของหน้าร้าน- เคาน์เตอร์เซอร์วิส มากกว่า 50% ที่มา : สถาบัน แมคคินซีย์ โกลบอล www.tanitsorat.com 9/19

ค่าจ้างเท่าใดไม่สำคัญ : แต่ต้องสมดุลกับผลิตภาพแรงงาน รัฐต้องไม่แทรกแซงค่าจ้าง อย่าใช้ค่าจ้างเป็นกลไกในการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้นและหวังผลจากการเมือง แต่ ข้อเท็จจริงในอดีตกรรมการไตรภาคีมักถูกการเมืองเข้ามาครอบงำทั้งทางตรงและทางอ้อมเพียงแต่ในแต่ละยุคสมัย ของแต่ละรัฐบาลจะมากหรือน้อยเท่านั้น การปรับค่าจ้างขั้นต่ำเป็นค่าจ้างอ้างอิง หากค่าจ้างไม่สมดุลกับผลิตภาพแรงงานจะเป็นปัจจัยเร่งให้ภาคเอกชนหันมา ใช้เทคโนโลยีแทนแรงงาน โดยเฉลี่ยค่าจ้างจะเป็นต้นทุนร้อยละ 10-12 ค่าจ้างต้องสามารถแข่งขันได้ ค่าจ้างของไทยสูงกว่าประเทศมาเลเซียเล็กน้อยแต่สูงกว่าประเทศอินโดนีเซียประมาณ 1.65 เท่า อีกทั้งสูงกว่าเวียดนามและกัมพูชาเกือบ 2 เท่ารวมทั้งสูงกว่าค่าแรงประเทศเมียนมาถึง 2.8 เท่า การเร่งตัวของการใช้เทคโนโลยีกระทบอุปสงค์การจ้างงานลดน้อยถอยลง ในปี 2564 มูลค่าการลงทุนหุ่นยนต์และ ออโตเมชั่นจะสูงขึ้น 2.4 เท่า (ปี 2560) ระยะสั้นอาจไม่เห็นผลกระทบชัดเจนเพราะนายจ้างใช้วิธีย้ายงานแต่จะชะลอ การจ้างแรงงานใหม่ www.tanitsorat.com 10/19

เปรียบเทียบค่าแรงงานประเทศ AEC ( มีนาคม 2561 ) ลำดับ ประเทศ เงินท้องถิ่น ค่าจ้างขั้นต่ำรายวัน (บาท) รายเดือน (บาท) 1 สิงคโปร์ 1,000 SGD / เดือน 833.- 25,000.- 2 ไทย - 308-330.- 9,750.- 3 ฟิลิปปินส์ 16,000 เปโซ / เดือน 300 – 350.- (เมืองรอบนอก 197) 9,100.- 4 มาเลเซีย 920 - 1,000 ริงกิต / เดือน 300 - 320.- 8,200 – 8,500.- 5 อินโดนีเซีย (เกาะบาหลี) 2.182 ล้านรูเปี๊ยะ / เดือน 163-230.- 5,895.- 6 เวียดนาม (โฮจิมินห์ / ฮานอย) 3.5 ล้านด่อง / เดือน 156-175.- (จังหวัดรอบนอก 156) 5,250.- 7 กัมพูชา 4.07-5.23 แสนเรียว หรือ 153 เหรียญ / เดือน 168.- 5.049.- 8 เมียนมา (ย่างกุ้ง) 4,800 จ๊าด / เดือน 120-135.- 3,600-4,000.- 9 สปป.ลาว 9.5 แสนกีบ / เดือน 120-130.- 3,600-3,900.- 11/19 www.tanitsorat.com

แรงงานไทยภายใต้เศรษฐกิจดิจิทัล เศรษฐกิจดิจิทัลค่าจ้างขั้นต่ำใช้กับแรงงานไร้ทักษะและแรงงานต่างด้าว แรงงานต้องยกระดับไปสู่แรงงานทักษะทำงานกับเทคโนโลยี ไม่สามารถใช้ค่าจ้างถูกเป็นจุดแข็งของประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศ แรงงานทักษะทางรอดของประเทศ การก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลจำเป็นด้านพัฒนาแรงงานทักษะ (Skill Labor) เป็นทางเดินของประเทศเกี่ยวข้องกับการยกระดับผลิตภาพแรงงาน ความท้าทายยกระดับแรงงาน 4.0 เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยี เกี่ยวข้องกับทั้งคน, ทัศนคติ, แรงจูงใจ จะสามารถก้าวผ่านทรานฟอร์มไปด้วยกันได้อย่างไร โครงสร้างแรงงานมีความซับซ้อน ทั้งมีการศึกษา ,การศึกษาน้อย ไปจนถึงระดับประถมซึ่งกลุ่มนี้มีสัดส่วนถึงร้อยละ 45 ขณะที่แรงงานอายุปานกลางไปจนถึงสูงอายุมีสัดส่วนถึงครึ่งของคนที่มีงานทำจะต้องเตรียมรับมืออย่างไร ค่าจ้างที่เหมาะสมภายใต้ช่วงรอยต่อยังมีความจำเป็น ร้อยละ 88 เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก, อุตสาหกรรมที่เทคโนโลยีมีข้อจำกัด, อุตสาหกรรมรับจ้าง OEM และแรงงานในภาคประมง-เกษตร-ปศุสัตว์ 12/19 www.tanitsorat.com

โจทย์แรงงาน 4.0 ไม่ใช่แค่ค่าจ้างขั้นต่ำแต่เป็นการพัฒนาทักษะ ลักษณะงานที่เปลี่ยนไปจากอดีต เป็นเรื่องสำคัญต้องเร่งพัฒนาอย่างจริงจัง ด้านทักษะที่จำเป็นต่อลักษณะของงานและการจ้างงานที่เปลี่ยนไป แรงงานต้องทำงานกับเทคโนโลยี เศรษฐกิจดิจิทัลจะมาพร้อมกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีของศตวรรษที่ 21 ทั้งในด้านอุตสาหกรรม, บริการ, โลจิสติกส์รวมถึงการนำปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) และหรือระบบ ออโตเมชั่นมาใช้ในกระบวนการทำงานและการผลิต GIG ECONOMY งานในอนาคตจะเป็นแรงงานนอกระบบ เช่น งานอิสระ (Freelance), งานพาร์ทไทม์ (Part time worker), ทำงานที่บ้าน (Homeworker), งานเกษตรพอเพียง ความท้าทายการก้าวผ่านให้หลุดจากกับดักแรงงานค่าจ้างขั้นต่ำ เกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนและทัศนคติวิสัยทัศน์ให้ก้าวผ่านเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งความเป็นธรรมในการจ้างงานต้องเป็นความสมดุลระหว่างผลิตภาพแรงงานเพื่อแลกกับอัตราค่าจ้างสูง www.tanitsorat.com 13/19

จำนวนปีที่คุ้มค่าต่อการลงทุน IR ในอุตสาหกรรมทั่วไป ณ ระดับค่าจ้างงานต่างๆ 530 370 300 450 อัตราค่าจ้าง ในปัจจุบัน/วัน ที่มา : EIC ธนาคารไทยพาณิชย์ www.tanitsorat.com 14/19

ราคาหุ่นยนต์ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง สวนทางกับต้นทุนค่าจ้างแรงงาน ต้นทุนแรงงาน ราคาหุ่นยนต์ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ McKinsey และ J.P.Morgan www.tanitsorat.com 15/19

การก้าวผ่านแรงงาน4.0 ความสำเร็จอยู่ที่การมียุทธศาสตร์ด้านแรงงาน ประเทศไทยยังติดกับดักอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ในอนาคตโจทย์ของประเทศช่องว่างของค่าจ้างไทยที่นับวัน จะห่างจากอัตราค่าจ้างของประเทศเพื่อนบ้าน ผลิตภาพแรงงานจะต้องไปในทิศทางเดียวกันกับอัตรา ค่าจ้างโดยเฉพาะประเด็นผลิตภาพแรงงานของไทยต่ำกว่าผลตอบแทนที่นายจ้างจ่ายซึ่งจะเป็นปัญหา ของประเทศในอนาคต อนาคตค่าจ้างขั้นต่ำอาจไม่ใช่ประเด็นที่จะมาถกเถียง เพราะแนวโน้มเทคโนโลยีที่จะมาทดแทนแรงงาน ต้องการแรงงานทักษะและแรงงานคุณภาพที่จะต้องมาทำงานภายใต้เศรษฐกิจดิจิทัล แรงงานบางสาขา และบางอาชีพอาจไม่มีอีกเตรียมการรับมืออย่างไร การประเมินสถานการณ์แรงงานในช่วงรอยต่อที่จะก้าวผ่าน เกี่ยวข้องกับการประเมินว่าแรงงานทั้ง ระบบจะต้องปรับตัวรับมือกับอะไรบ้าง การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยียุค 4.0 จะมาเร็วแค่ไหนผลกระทบ จะเป็นอย่างไร การคุ้มครองแรงงานโดยไม่คำนึงถึงคุณภาพและผลิตภาพแรงงาน อาจเป็นกับดักต่อการยกระดับเป็น ประเทศมีรายได้สูงตามโรดแมปยุทธศาสตร์ชาติ 20 ยุทธศาสตร์แรงงาน 4.0 เพื่อเป็นโรดแมปในการพัฒนาแรงงานทั้งระบบโดยสอดคล้องกับโจทย์ของ แรงงานทั้งด้านโอกาส, การศึกษา, อายุ และศักยภาพที่แตกต่างกัน www.tanitsorat.com 16/19

ดิสรัปทีฟเทคโนโลยีของยุค 4. ตัวแปรกำหนดการจ้างงานและค่าจ้างในอนาคต ดิสรัปทีฟเทคโนโลยีของยุค 4.0.......... ตัวแปรกำหนดการจ้างงานและค่าจ้างในอนาคต การก้าวผ่านคือการปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง www.tanitsorat.com 17/19

สามารถสแกนด้วยมือถือ Power point ค่าจ้างต้องสมดุลกับผลิตภาพแรงงาน:ทางออกแรงงานไทยก้าวผ่านเศรษฐกิจดิจิทัล เอกสารค่าจ้างต้องสมดุลกับผลิตภาพแรงงาน:ทางออกแรงงานไทยก้าวผ่านเศรษฐกิจดิจิทัล และสามารถติดตามบทความอื่นๆได้ที่ช่องทาง www.tanitsorat.com / Facebook : Tanit Sorat / Youtube : www.youtube.com/user/tanitvsl www.tanitsorat.com 18/19

www.tanitsorat.com