งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป และรองประธานสภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน วันที่ 18 สิงหาคม 2561 ณ โรงพิมพ์หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ถนนอรุณอัมรินทร์

2 การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ เกี่ยวข้องกับโครงสร้างอำนาจและความมั่งคั่ง Power & Wealth Economy
1. ความเป็นธรรมด้านการค้าขึ้นอยู่กับการปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจ (Trade Fairness on Power Interaction) 2. อำนาจทางการทหารนำมาซึ่งความมั่นคงทางการค้า (Trade Security on Super Military Power) 3. อำนาจเศรษฐกิจนำหน้าการต่อรองทางการค้า (Trade Bargaining on Super Economic Power) 4. อำนาจจากการร่วมกลุ่มการเมืองและการค้า (Trade & Politic Community power) 5. อำนาจจากนวัตกรรมและเทคโนโลยี (Innovation & Technology Power) 6. อำนาจทุนวัฒนธรรม-ความเชื่อ และศาสนา (Culture & Religions Power)

3 กรณีศึกษา ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมั่นคง-มั่งคั่ง ปัจจัยใดมาก่อน (1)
สหรัฐอเมริกา : Super Power & Wealth ขนาดเศรษฐกิจอันดับ 1 ของโลก มูลค่า ล้านล้านเหรียญสหรัฐ รายได้ต่อหัว 59,495 เหรียญสหรัฐ ข้อตกลงจัดระเบียบโลก (New World Order) สมัยประธานาธิบดี จอร์จ บุช (พ่อ) หลักประชาธิปไตย (ตามใจสหรัฐ) หลักสิทธิมนุษยชน เช่น ลำดับประเทศสถานการณ์ค้ามนุษย์ (TIP Report / Tier 2) มาตรฐานสิ่งแวดล้อม, การกีดกันทางการค้า, มาตรการ NTMs การค้าเสรี / WTO ทรัพย์สินทางปัญญา โดย USTR ใช้ ม. 301 จับตาไทย WL : Watch List (หลุดจากระดับ PWL) คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ หากไม่ร่วมมือ เช่น เกาหลีเหนือ, อิหร่าน, เวเนซุเอลา อเมริกามาก่อน (The America First) ของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ (ทำให้เกิดสงครามการค้ายุคใหม่) กองกำลังอวกาศ (Space Military)

4 กรณีศึกษา ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมั่นคง-มั่งคั่ง ปัจจัยใดมาก่อน (2)
ประเทศจีน : Super Power & Wealth ขนาดเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก มูลค่า (2560) ล้านล้านเหรียญสหรัฐ เศรษฐกิจแยกจากการเมืองโดยเด็ดขาดโดยใช้นโยบายหนึ่งประเทศสองระบบ ฐานการผลิตสินค้าสินค้าของโลก / Factory of the World เป็นตลาดนำเข้าขนาดใหญ่ของโลก และลุงทุน FDI อันดับ 1 ของโลก Naval Power :ถมทะเลสร้างเกาะเทียม แนวหินโสโครก เกาะสแปรตลีย์ , แนวปะการังมิสชีฟทะเลจีนใต้ One Belt One Road (OBOR) ทางสายไหมทางบก (Silk Road Economic Belt) และทางทะเล (Maritime Silk Route) ของศตวรรษที่ 21 ใช้เงินลงทุน 1.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ เชื่อมประเทศต่างๆ 1 ใน 3 ของโลก และมีผลการค้า 1 ใน 4 ของการค้าโลก

5 กรณีศึกษา ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมั่นคง-มั่งคั่ง ปัจจัยใดมาก่อน (3)
ประเทศรัสเซีย : Super Power, But Not Wealth ขนาดเศรษฐกิจลำดับ 12 ของโลก มูลค่า1.307 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ตลาดภายในขนาดไม่ใหญ่พอที่จะมีอำนาจในการกำหนดเงื่อนไขการต่อรอง เศรษฐกิจถดถอยจากราคานำมันดิบตกต่ำ ถูกค่ำบาตรทางเศรษฐกิจจากสหรัฐอเมริกา (รอบใหม่ เมษายน 2561) Pivot to Asia Policy บทบาทระหว่างประเทศในเอเชียแปซิฟิก มีจำกัดเพราะผลประโยชน์ไม่มาก หลักใช้ทหารนำการเมืองนอกประเทศโดยไม่มีธุรกิจในประเทศเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ทำให้ไม่สร้างความมั่งคั่ง เศรษฐกิจของรัสเซียยังคงมีความล้าหลังเมื่อเทียบกับ สหรัฐ จีน ญี่ปุ่น และประเทศยุโรป แม้แต่เกาหลีใต้มีเศรษฐกิจใหญ่กว่ารัสเซีย เป็นเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวอาศัยการส่งออกน้ำมันและทรัพยากรทางธรรมชาติ

6 กรณีศึกษา ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมั่นคง-มั่งคั่ง ปัจจัยใดมาก่อน (4)
ประเทศญี่ปุ่น, เยอรมนี และเกาหลีใต้ : Wealth But Not Super Power ขนาดเศรษฐกิจลำดับ 3, ลำดับ 4 และลำดับที่ 11 ของโลก ไม่ใช่ประเทศมหาอำนาจแต่มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ประเทศเยอรมนีอยู่ใน EU และ NATO จึงไม่มีความจำเป็นต้องเป็น Super Power สำหรับญี่ปุ่นและเกาหลีใต้อยู่ภายใต้การคุ้มครองของสหรัฐอเมริกา ไม่ต้องเสียงบประมาณด้านทหาร เป็นประเทศที่มีการใช้ R&D, นวัตกรรม และเทคโนโลยีเป็นกลไกลขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สินค้ามีคุณภาพและมีแบรนด์เป็นที่ยอมรับระดับโลก นโยบายทางด้านเศรษฐกิจมีความชัดเจนและประชาชนมีวินัย เอกชนในประเทศมีความเข้มแข็งทำให้สินค้าภายนอกไม่สามารถช่วงชิงพื้นที่ตลาดภายในได้ และเป็นผู้ส่งออก-ลงทุน (FDI) ที่สำคัญของโลก

7 เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงเศรษฐกิจทางทะเลระหว่างประเทศ
การค้าและการลงทุน เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงเศรษฐกิจทางทะเลระหว่างประเทศ สมุททานุภาพ : ส่งเสริมความมั่งคั่งของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงอนาคต สินค้าทางทะเลเป็นร้อยละ 91 ของการขนส่งระหว่างประเทศ ประเทศไทยมีพื้นที่ชายฝั่งทะเล ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามันรวมเป็นระยะทาง 3,000 กิโลเมตร พื้นที่ทางทะเล Marine Zone 320,000 ตร.กม.

8 สมุททานุภาพทางเศรษฐกิจ : ความมั่งคั่งแห่งชาติทางทะเล
ไทยเป็นรัฐชายฝั่ง (Rim Land) ความมั่งคั่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและอนาคตจึงมาจากเศรษฐกิจที่มาจากทะเล มีพื้นที่เศรษฐกิจจำเพาะหรืออาณาเขตทางทะเล (EEZ : Exclusive Economic Zone) ประมาณ 320,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 62 ของพื้นที่ซึ่งเป็นแผ่นดิน (ประมาณ 513,120 ตารางกิโลเมตร) ประเทศ 2 มหาสมุทร ชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 3,010 กิโลเมตร แบ่งเป็น (1) ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกหรือทะเลอ่าวไทยมีระยะทางประมาณ 544 กิโลเมตร (2) ชายฝั่งทะเลภาคใต้ด้านตะวันออกทะเลอ่าวไทย ยาวประมาณ 1,334 กิโลเมตร และ (3) ชายฝั่งทะเลภาคใต้ด้านตะวันตกฝั่งทะเลอันดามัน รวมความยาวประมาณ 937 กิโลเมตร การรักษาดุลยภาพอำนาจทางทะเลเป็นปัจจัยต่อความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เขตแดนไหล่ทวีป (Continental Shelf Zone) จนถึงระยะ 200 ไมล์ ทำให้เกิดพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เวียดนามมีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลประมาณ 6,000 ตารางกิโลเมตร ประเทศกัมพูชาประมาณ 26,400 ตารางกิโลเมตร และประเทศมาเลเซียประมาณ 7,250 ตารางกิโลเมตร เขตเศรษฐกิจจำเพาะทางทะเล (Exclusive Economic Zone) เป็นสิทธิของรัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตย เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทางทะเล เช่น การสำรวจ การแสวงหาผลประโยชน์จากทะเล การอนุรักษ์ และการจัดการใดๆในการใช้ทรัพยากรทั้งพื้นที่อากาศ, ผิวทะเล, ท้องทะเล และใต้ทะเล

9 ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับสมุททานุภาพ คิดเป็นสัดส่วน 1
ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับสมุททานุภาพ คิดเป็นสัดส่วน 1.42 เท่าของ GDP (ตัวเลขอาจเปลี่ยนแปลงไปตามราคาน้ำมันโลกและอัตราแลกเปลี่ยน) ลำดับ รายการ ล้านล้านบาท 1 มูลค่าการนำเข้า-ส่งออกทางทะเล (ไม่รวมเชื้อเพลิง) 14.27 2 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับปิโตรเคมิคอล-พลาสติก 3.0 3 มูลค่านำเข้า-ส่งออกน้ำมันดิบ-น้ำมันสำเร็จรูป-แก็ส-เชื้อเพลิง (ปี 2560) 1.323 4 รายได้จากอุตสาหกรรมบริการโลจิสติกส์ที่เกี่ยวกับทะเล 0.794 5 รายได้จากการท่องเที่ยวทางทะเล (ต่างชาติ) 0.669 6 รายได้จากการขุดเจาะน้ำมันดิบ-แก็สในอ่าวไทย 0.620 7 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารทะเลบรรจุกระป๋องและแปรรูป (ปี 2557) 0.277 8 รายได้ภาครัฐจากการจัดหาปิโตรเลียม 0.198 9 มูลค่ากิจการประมงเพื่อส่งออก 0.123 10 รายได้จัดเก็บภาษีของกรมศุลกากร 0.119 11 อุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงประมงชายฝั่ง 0.0910 12 รายได้อุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและซ่อมเรือ 0.045 13 รายได้จากการท่าเรือแห่งประเทศไทย 0.011 รวม 21.54 ที่มา : รวบรวมโดย ดร.ธนิต โสรัตน์ (ปี 2560)

10 Intensive Independent Economic Country มูลค่าเศรษฐกิจไทยพึ่งพาต่างชาติในระดับสูง
มูลค่าเศรษฐกิจปี 2560 : ล้านๆบาท อันดับที่ 26 ของโลก

11 สัดส่วนโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ (ปี2560) มูลค่านำเข้า-ส่งออกรวม 15
สัดส่วนโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ (ปี2560) มูลค่านำเข้า-ส่งออกรวม ล้านล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 1.04 เท่าของ GDP นำเข้า มูลค่า ล้านๆบาท ส่งออก มูลค่า ล้านๆบาท (การนำเข้าร้อยละ 75 เพื่อสนับสนุนภคอุตสาหกรรม) ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ, กระทรวงพาณิชย์

12 ภาคส่งออกไทยกระจุกตัว สินค้าอุตสาหกรรม 10 อันดับแรก มีสัดส่วนครึ่งหนึ่งของการส่งออกทั้งหมด
หน่วย : ล้านบาท ลำดับ สินค้า มูลค่า สัดส่วน 1 รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 914,343.87 11.42 2 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ 624,896.12 7.81 3 อัญมณีและเครื่องประดับ 434,890.65 5.43 4 ผลิตภัณฑ์ยาง 346,897.45 4.33 5 เม็ดพลาสติก 293,551.44 3.67 6 เคมีภัณฑ์ 252,336.44 3.15 7 แผงวงจรไฟฟ้า 279,659.06 3.49 8 เครื่องจักรกล และส่วนประกอบของเครื่องจักร 256,241.46 3.20 9 เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์เหล็ก 188,060.45 2.35 10 เครื่องใช้ไฟฟ้า 388,130.19 4.85 (ปี 2560)

13 การค้าระหว่างประเทศนำมาซึ่งการลงทุนและการจ้างงาน การจ้างงานเฉพาะธุรกิจ-อุตสาหกรรม-บริการ จำนวนแรงงานเอกชน 21,005,067 คน (ร้อยละ 47 เป็นแรงงานนอกระบบ) (ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์, คำนวณจากข้อมูลสถานการณ์และการเตือนภัย กระทรวงแรงงาน และสำนักงานประกันสังคม (30 มิ.ย.2561)

14 ความเหลื่อมล้ำด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการนายจ้างประเภทต่างๆ ที่จดทะเบียนนิติบุคคล ร้อยละ เป็น SME (สถานประกอบการจดทะเบียน 691,227 ราย มูลค่ารวมกัน ล้านล้านบาท) ประเภท การลงทุน/(ล้านบาท) จำนวน สัดส่วน รายย่อย (SMALL) ไม่เกิน 5.0 ล้านบาท 610,117 ราย 88% มูลค่าการลงทุน 99,000 ล้านบาท 0.57% รายกลาง (MEDIUM) ล้านบาท 66,856 ราย 9.67% 1.80 ล้านล้านบาท 10.42% รายใหญ่ (LARGE) (เป็นบริษัทมหาชน 1,177 กิจการ) สัดส่วน 0.17% มากกว่า 100 ล้านบาท 14,254 ราย 2.06% 14.45 ล้านล้านบาท 83.82% ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ก.พ. 61) หมายเหตุ : สถานประกอบการไม่จดทะเบียนจำนวน 6.5 แสนกิจการ

15 EEC : โครงการพัฒนาระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก New Eastern Seaboard 4.0
พ.ร.บ. เขตเศรษฐกิจพิเศษภคตะวันออก (8 ก.พ. 2561) อีอีซีการลงทุนใหม่ ส่งเสริม 10 Super Cluster แผน 5 ปี มูลค่า 1.5 ล้านๆบาท ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3 เป็น Main gate port (เพิ่มจาก 11 ล้าน TEU เป็น 18 ล้าน TEU) ท่าเรือน้ำลึกมาบตาพุดระยะที่ 3 สนามบินอู่ตะเภาเป็นสนามบินแห่งชาติแห่งที่ 3 (ปี 2565 ผู้โดยสาร 15 ล้านคน) รถไฟความเร็วสูง (HSR) กทม.- ระยอง (เชื่อม 3 สนามบิน)

16 สัดส่วนการขอส่งเสริมการลงทุน (ปี2560)
การลงทุนไทยพึ่งพาต่างชาติในระดับสูง แต่มีความสำคัญต่อการจ้างงานและการบริโภค มูลค่าการลงทุน (BOI) แสนล้านบาท ลงทุนใน S-Curve ร้อยละ 54 จำนวนโครงการลงทุน มูลค่าการลงทุน สัดส่วนการขอส่งเสริมการลงทุน (ปี2560) โครงการของ BOI 1,456 โครงการ ลงทุนในอุตสาหกรรม S-CURVE 26% มูลค่าการลงทุน (รวม) 641,980 ล้านบาท ลงทุน FDI ในอุตสาหกรรม S-CURVE 54% (215,320 ล้านบาท)

17 3 อันดับแรก นักลงทุนต่างชาติที่ขอ BOI คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 73
จำนวน มูลค่า ลำดับ ประเทศ โครงการ ร้อยละ เงินลงทุน (ล้านบาท) 1 ญี่ปุ่น 256 40.12% 133,002 37.01% 2 จีน+ฮ่องกง 128 20.06% 34,670 9.64% 3 สิงคโปร์ 88 13.79% 40,366 11.23% 4 สหรัฐอเมริกา 33 5.17% 20,022 5.57% 5 เนเธอร์แลนด์ 28 4.38% 15,842 4.40% 6 ไต้หวัน 49 7.68% 9,036 2.51% 7 มาเลเซีย 22 3.44% 8,235 2.29% 8 อินโดนีเซีย 0.78% 7,156 1.99% 9 ออสเตรีย 15 2.35% 4,550 1.29% 10 อื่นๆ 194 23.71% 9,847 4.32% 818 282,696

18 โครงการต่างชาติขอส่งเสริมการลงทุน (BOI) ในอุตสาหกรรมซูเปอร์คลัสเตอร์ (S-CURVE) คิดเป็นร้อยละ 80
ปี 2560 Q1 ปี 2561 อุตสาหกรรมเป้าหมาย (ม.ค.-ธ.ค.) จำนวน โครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท) ดิจิทัล 116 1,610 38 1,974 การแพทย์ครบวงจร 7 2,200 1 2.0 ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ 36 26,988 9 3,563 เครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์ 13 1,414 9.0 อากาศยาน 6 1,870 - การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 26 9,621 11 1,382 อิเล็กทรอนิกส์ 68 43,752 12 3,029 ยานยนต์ 45 73,058 15 3,671 การท่องเที่ยว 17,983 40.0 การแปรรูปอาหาร 24 7,848 5 850 รวมทั้งสิ้น 356 186,344 93 14,520 ลงทุนใน EEC (ร้อยละ) 43.5% 65% 80%

19 การค้า-การลงทุน ภายใต้บริบทภูมิภาค
ส่งออกประเทศ CLMV มูลค่า 850,128 ล้านบาท สัดส่วนร้อยละ ของส่งออกทั้งหมด การขนส่งเชื่อมโยงทางถนนประเทศ CLMV เป็นจุดแข็งการค้า-ลงทุน ของไทย ที่ตั้งประเทศอยู่กลางประเทศ CLMV เป็น Location Hub ของภูมิภาค Logistics Regional Hub : มีโครงสร้าง พื้นฐานโลจิสติกส์เชื่อมโยงประเทศเพื่อน บ้าน Economic Power เศรษฐกิจของไทยมี ความเข้มแข็ง อุตสาหกรรมและ ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพด้านการ แข่งขันที่เหนือกว่า Power & Wealthไทยมีความได้เปรียบเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจและการเมือง

20 CLMV : Trade & Investment Connectivity (1)
ประเทศกัมพูชา ส่งออกผ่านแดน 101,727 ล้านบาท สัดส่วน 56.85% ประเทศเมียนมาร์ ส่งออกผ่านแดน 108,966 ล้านบาท สัดส่วน 73.68%

21 CLMV : Trade & Investment Connectivity (2)
ประเทศ สปป.ลาว ส่งออกผ่านแดน 131,262 ล้านบาท สัดส่วน 95.64% ประเทศเวียดนาม ส่งออกผ่านแดน 62,179 ล้านบาท สัดส่วน %

22 ลำดับการเข้าไปลงทุนของไทย
การค้า-การลงทุนประเทศ CLMV เป็นจุดแข็งของไทย ส่งออกทางถนนสัดส่วนร้อยละ 48 ของการส่งออกรวม ลำดับการเข้าไปลงทุนของไทย ประเทศ ขนาดเศรษฐกิจ ล้าน/เหรียญสหรัฐ GDPเศรษฐกิจขยายตัว % ประชากร (ล้านคน) อัตราว่างงาน % ส่งออกรวม (ล้านบาท) ปี 2560 ส่งออกทางเรือ/อากาศ (ล้านบาท) ส่งออกขยายตัว ส่งออกชายแดน (ล้านบาท) สัดส่วน 3 กัมพูชา 17,700 7.0% 14.3 1.1% 179,082 61,903 9.35% 101,722 56.85 2 สปป.ลาว 12,500 7.4% 6.77 -None- 133,694 2,035 -4.57% 131,262 95.64 4 เมียนมาร์ 65,800 8.5% 53-56 4.0% 146,142 37,050 -0.27% 108,966 73.68 1 เวียดนาม 204,620 6.1% 90 4.41% 391,210 28,250 18.52% 62,179 15.73 850,128 404,134 (ร้อยละ 47.5)

23 การลงทุนโดยตรงของไทย (TDI) ในกลุ่มประเทศ CLMV ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
หน่วย : ดอลลาร์ สรอ. 2555 2556 2557r 2558p 2559p 5 ปี โตเฉลี่ย กัมพูชา 1,232.4 2,042.4 1,209.1 1,241.6 1,350.4 9.6% สปป.ลาว 1,082.5 1,414.9 1,350.0 1,597.3 1,866.3 72.4% เมียนมา 1,003.8 1,727.9 1,354.9 1,686.9 1,337.5 33.2% เวียดนาม 1,657.6 2,180.9 1,564.0 1,938.5 3,040.0 83.3% รวม 4,976.4 7,366.1 5,477.9 6,464.4 7,594.2 52.6% ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้นอาจมีการปรับทบทวนตัวเลขในภายหลัง r หมายถึง การปรับทบทวนตัวเลข

24 หากต้องการลงทุนในประเทศ CLMV ต้องทำอย่างไร
1. วิสัยทัศน์ ด้วยการทบทวนขีดความสามารถในการแข่งขันในระยะ 5-10 ปี 2. ประเมินโอกาสหรือภัยคุกคาม คู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกันต่างมีการย้ายการผลิต ต้องประเมินให้ออกว่าเป็นโอกาสหรือเป็นหายนะของธุรกิจ 3. วิเคราะห์จุดแข็ง เช่น การเคลื่อนย้าย-เทคโนโลยี-ผลิตภัณฑ์หลัก (Product Champion) ที่จะนำร่องเป็นจุดแข็งหากย้ายฐานการผลิต 4. ความพร้อมของธุรกิจ ทั้งด้านทรัพยากรมนุษย์, การบริหารจัดการ ขีดความสามารถของผู้บริหาร โดยเฉพาะทุนเกี่ยวข้องกับสภาพคล่องระยะอย่างน้อย 2-3 ปี 5. เลือกประเทศและพื้นที่ซึ่งจะลงทุน โดยให้สอดคล้องกับลักษณะธุรกิจ-อุตสาหกรรม เช่น ต้นทุนการผลิต-ค่าจ้าง, กฎหมายการลงทุน, สิทธิประโยชน์, ความนิ่งด้านการเมือง, โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ 6. เลือกหุ้นส่วนหรือตัวแทนให้ถูก ความล้มเหลวของการลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะ CLMV เกี่ยวข้องกับการหาหุ้นส่วนต้องหามืออาชีพเข้าธุรกิจหรือมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเจ้าหน้าที่รัฐ มิฉะนั้นจะเป็นหายนะและความล้มเหลว 7. ประเมินความเสี่ยง ต้องประเมินทุกด้านทั้งด้านต้นทุน กฎหมาย ภาษี ทั้งระดับประเทศและระดับแขวง การจัดหาแรงงาน ปัญหาแรงงาน ปัญหากฎหมายแรงงานต่างด้าว ต้นทุนแฝงต่างๆ ด้านคอรัปชั่นในรูปแบบต่างๆ การเก็บหนี้ รูปแบบการค้าโดยเฉพาะระยะเวลาคืนทุน

25 โอกาสของการลงทุนประเทศ CLMV มูลค่า 2
กฎหมายไม่แน่นอนเปลี่ยนแปลงบ่อย การบริหารความเสี่ยงและความแตกต่าง การบริหารจัดการคน ปัญหาแรงงานไร้ทักษะ ระบบภาษีซับซ้อนไม่มีมาตรฐาน ต้นทุนแฝงจากคอรัปชั่นเป็นเรื่องปกติ ต้นทุนแรงงานอาจต่ำกว่าไทย แต่ต้นทุนด้านอื่นอาจสูงกว่าไทย ระบบธนาคารเอาแน่นอนไม่ได้ การเข้าใจพื้นที่และวัฒนธรรมท้องถิ่น ระบบการเมืองแตกต่างจากไทย ระบบประกันภัยขาดมาตรฐาน ระบบศาลและการบังคับ

26 AEC : ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจในภูมิภาค เศรษฐกิจอาเชียนจะเป็นเศรษฐกิจใหม่ที่มีการเติบโตสูงสุดของโลก
GMS จีน ACMECS ไทย BIMSTEC อินเดีย IMT-GT อินโดนีเซีย

27 เส้นทางการค้า-การลงทุน
China : Power & Wealth โอกาสหรือภัยคุกคาม เส้นทางการค้า-การลงทุน เส้นทางสายไหมรถไฟไทย-จีน The Pan-Asia Railway 4,500 KM

28 เส้นทางสายไหม : ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง Power & Wealth
One Belt One Road & Maritime Silk Route เชื่อมประเทศต่างๆ 1 ใน 3 ของโลก London Istanbul Thailand

29 New 21st Century Silk Route เส้นทางสายไหมจีนยุคใหม่
OBOR : New Silk Road จีนทุ่มงบประมาณ 1.5 ล้านๆเหรียญสหรัฐหรือประมาณ 51 ล้านๆบาทไทย จากฐานการผลิตในภาคตะวันออกของจีนไปสู่ภาคตะวันตกซึ่งเป็นพื้นที่ทะเลทรายผ่านมณฑลซินเจียง- อุยกูร์ ข้ามพรมแดนตุรกี อิหร่าน รัสเซีย ยุโรปตะวันออกไปสู่ประเทศแถบยุโรปตะวันตก ปัจจุบันเปิดใช้ การแล้วสามารถขนส่งทางรถไฟจากกรุงปักกิ่งไปจนถึงสเปน ฝรั่งเศส เยอรมนี และกรุงลอนดอน Pan-Asia Railway (4,500 KM) เชื่อมโยงระบบรางกับประเทศสปป.ลาว จากนครคุนหมิง เส้นทาง รถไฟจะลงมาทางใต้ผ่านแขวงหลวงน้ำทา - เวียงจันทร์ จะเชื่อมกับระบบรถไฟของไทยที่จังหวัด หนองคาย Maritime Silk Route เส้นทางเลือกการขนส่งทางทะเลจากท่าเรือฝั่งตะวันออก ซึ่งต้องผ่านช่องแคบ มะละกาเข้าคลองสุเอซสู่ยุโรปใช้เวลา 40 กว่าวันหรือมากกว่า ขณะที่การขนส่งทางรถไฟใช้เวลาประมาณ 20 วันเศษด้วยต้นทุนที่สูงกว่าเล็กน้อย Klong Thai Canal คลองไทยเชื่อม 2 มหาสมุทร จีนสนใจการเชื่อมต่อทางทะเลโดยจะตัดคลองลัดจากฝั่งอันดามันเชื่อมกับอ่าวไทย เส้น 9A จากอ่าวน้อยจังหวัดกระบี่-พัทลุงมาออกทะเลที่จังหวัดสงขลา จีนหวังจะใช้เป็นเส้นทางขนส่งน้ำมันจากตะวันออกกลางและเรือคอนเทนเนอร์ Ocean Direct Ship ผ่านคลองไทย ขณะที่ผลกระทบและการได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจของไทยยังขาดความชัดเจน

30 ผลักดันคลองไทย...Power & Wealth ผลประโยชน์เพื่อใครยังไม่ชัด
จีนผลักดันให้เป็นส่วนหนึ่งของ Maritime Silk Route สินค้าไทยร้อยละ 70 ส่งออกผ่านอ่าวไทย มีคลองลัดกับการมีท่าเรือขนาดใหญ่เกี่ยวข้องกับจำนวนอุปสงค์ในพื้นที่ เรือน้ำมันขนาดใหญ่และเรือสินค้าจากจีนจะได้ประโยชน์ ผลกระทบด้านระบบนิเวศน์และท่องเที่ยว ประเทศอียิปต์และปานามาคลองลัดไม่ได้ทำให้กลายเป็นประเทศร่ำรวย 30/36

31 New Global Maritime Route
การปรับเปลี่ยนเส้นทางการเดินเรือใหม่ ส่วนหนึ่งที่จะเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับธุรกิจการขนส่งน้ำมันดิบของภูมิภาคนี้ ที่จะสามารถปรับมาใช้เส้นทางเดินเรือเข้าสู่”ทวาย” ซึ่ง ”เป็นเส้นทางลัด” แทนเส้นทางการขนส่งที่มีอยู่เดิม สำหรับประเทศในกลุ่มเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 31

32 สงครามการค้ายุคใหม่เมื่ออำนาจกับความมั่งคั่งตกลงกันไม่ได้
New Trade War สงครามการค้ายุคใหม่เมื่ออำนาจกับความมั่งคั่งตกลงกันไม่ได้ ประเด็นโต้ตอบทางภาษีและการแซงค์ชั่นอิหร่าน การประชุมซัมมิต G8 เมื่อวันศุกร์ที่ 8-9 มิถุนายน 2561 ที่เมืองชาร์ลเลอวัว ของรัฐควิเบก ประเทศแคนาดา

33 เศรษฐกิจไทยเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก บริบทของโลก....ย่อมมีผลต่อการค้า-การลงทุน
วิกฤติตุรกี....เหยื่อสงครามการค้าโลก เศรษฐกิจอันดับที่ 17 ของโลกสูงกว่าไทย 2.1 เท่า สหรัฐอเมริกาแซงค์ชั่นสินค้าเพิ่มภาษี 2 เท่า ทำให้ค่าเงินร่วงอย่างรุนแรง ดอกเบี้ยนโยบายปรับตัวร้อยละ 40 หนี้สาธารณะเงินต่างประเทศสูง 4.54 แสนล้านเหรียญสหรัฐ (1เท่าของ GDPไทย) แต่มีเงินสำรองเพียง 98.4 ล้านเหรียญสหรัฐ ผู้นำประเทศใช้มาตรการการเมืองนำหน้าเศรษฐกิจ ยุประชาชนแอนตี้สินค้าสหรัฐและให้เทขายทองคำเป็นเงินสกุลท้องถิ่น (ลีรา) ไม่ยอมรับความช่วยเหลือจาก IMF เป็นชาติแรกที่พ่ายเกมส์การเมืองระหว่างประเทศถึงเข้าขั้นล้มละลาย ส่งผลกระทบต่อประเทศเจ้าหนี้และอัตราแลกเปลี่ยน

34 ประเทศไทย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมั่นคง-มั่งคั่ง ปัจจัยใดมาก่อน ?
อัตราการเติบโตของ GDP (%) หมายเหตุ :GDP โลก (IMF) 3.94% ดร.ธนิต โสรัตน์ (ส.ค. 2561)

35 เศรษฐกิจการเมือง. แมวจะสีอะไรก็ไม่สำคัญ. ขอให้จับหนูได้เป็นพอ
เศรษฐกิจการเมือง แมวจะสีอะไรก็ไม่สำคัญ...ขอให้จับหนูได้เป็นพอ แต่ต้องระวังไม่ให้แมวกลายเป็นเสือจึงต้องเลือกแมวให้ดี

36 หากจะคัดลอกบทความนี้หรือนำบางส่วนไปใช้ในงานต่างๆ
โปรดอ้างอิงชื่อผู้เขียนบทความ และสามารถ Download PowerPoint ได้ที่ พร้อมทั้งสามารถติดตามรายงาน-บทความอื่นๆ ได้ที่ Facebook/Tanit.Sorat รวมทั้งบทสัมภาษณ์ต่างๆ ได้ที่ Youtube.com โดยใช้คีย์เวิร์ด ดร.ธนิต โสรัตน์


ดาวน์โหลด ppt การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google