งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
นางจินตนา ชัยยวรรณาการ ที่ปรึกษาด้านการพาณิชย์ในประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ณ โรงแรมริเวอร์แคว จ.กาญจนบุรี วันที่ 27 ตุลาคม 2558

2 รู้เรา กลุ่มอุตสาหกรรมและเกษตรที่ไทยมีความได้เปรียบ
แต่ควรรักษาระดับศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้มากขึ้น รู้เรา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดทำงานวิจัยที่จะช่วยตอบโจทย์ให้แก่ภาครัฐและภาคเอกชนในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่เออีซี โดยพบว่า อุตสาหกรรม 5 กลุ่ม ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมการเกษตร จัดได้ว่าเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และยังคงมีความได้เปรียบกับประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ไทยควรรักษาระดับศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้มาก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทยนั้น จะดึงดูดนักลงทุนชาวต่างชาติในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าสูงมาลงทุนโดยเฉพาะประเทศไต้หวันและเกาหลีที่ส่วนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำจะไปลงทุนในกลุ่มประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (กลุ่ม CLMV) มากขึ้น อุตสาหกรรมยานยนต์ ยังคงมีศักยภาพในการแข่งขันและเป็นผู้นาการส่งออกอันดับต้นๆ ของอาเซียน แต่ไทยยังมีปัญหาในเรื่องต้นทุนโดยเฉพาะค่าจ้างแรงงาน และแรงงานที่มีฝีมือ มีแนวโน้มในการเพิ่มฐานการผลิตไปยังกลุ่ม CLMV เพื่อลดต้นทุน 3. อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม มีศักยภาพในการแข่งขันสูง แต่มีต้นทุนสินค้าสูง และยังขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ภาครัฐควรส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปในประเทศ CLMV ให้มากขึ้น ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้า สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์จากการสร้างตราสินค้าและสร้างความเข้มแข็งในด้าน Supply Chain Management โดยพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมทั้งโซ่อุปทาน 4. อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย จุดเด่น คือ มีคุณภาพของการบริการสูง เนื่องด้วยความหลากหลายของระดับการให้บริการภายในประเทศ ดังนั้น ผู้บริโภคจึงมีความสนใจในด้านคุณภาพการให้บริการเป็นสาคัญ และมีแนวโน้มที่จะจ้างพนักงานในลักษณะ Outsource มากขึ้น และต้องการพนักงานทุกระดับที่มีทักษะหรือมีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น 5. อุตสาหกรรมการเกษตร พบว่า ประเทศไทยไม่จาเป็นปรับห่วงโซ่อุปทานทั้งระบบ แต่ควรเน้นด้านการปรับตัวด้วยการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในด้านที่มีศักยภาพอยู่แล้ว เช่น การปรับตัวโดยการนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการเพิ่มผลผลิต

3 5 กลุ่มอุตสาหกรรมและเกษตร ผู้ให้บริการ โลจิสติกส์
อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ เครื่องนุ่งห่ม ผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ การเกษตร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดทำงานวิจัยที่จะช่วยตอบโจทย์ให้แก่ภาครัฐและภาคเอกชนในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่เออีซี โดยพบว่า อุตสาหกรรม 5 กลุ่ม ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมการเกษตร จัดได้ว่าเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และยังคงมีความได้เปรียบกับประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ไทยควรรักษาระดับศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้มาก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทยนั้น จะดึงดูดนักลงทุนชาวต่างชาติในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าสูงมาลงทุนโดยเฉพาะประเทศไต้หวันและเกาหลีที่ส่วนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำจะไปลงทุนในกลุ่มประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (กลุ่ม CLMV) มากขึ้น อุตสาหกรรมยานยนต์ ยังคงมีศักยภาพในการแข่งขันและเป็นผู้นาการส่งออกอันดับต้นๆ ของอาเซียน แต่ไทยยังมีปัญหาในเรื่องต้นทุนโดยเฉพาะค่าจ้างแรงงาน และแรงงานที่มีฝีมือ มีแนวโน้มในการเพิ่มฐานการผลิตไปยังกลุ่ม CLMV เพื่อลดต้นทุน 3. อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม มีศักยภาพในการแข่งขันสูง แต่มีต้นทุนสินค้าสูง และยังขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ภาครัฐควรส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปในประเทศ CLMV ให้มากขึ้น ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้า สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์จากการสร้างตราสินค้าและสร้างความเข้มแข็งในด้าน Supply Chain Management โดยพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมทั้งโซ่อุปทาน 4. อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย จุดเด่น คือ มีคุณภาพของการบริการสูง เนื่องด้วยความหลากหลายของระดับการให้บริการภายในประเทศ ดังนั้น ผู้บริโภคจึงมีความสนใจในด้านคุณภาพการให้บริการเป็นสาคัญ และมีแนวโน้มที่จะจ้างพนักงานในลักษณะ Outsource มากขึ้น และต้องการพนักงานทุกระดับที่มีทักษะหรือมีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น 5. อุตสาหกรรมการเกษตร พบว่า ประเทศไทยไม่จาเป็นปรับห่วงโซ่อุปทานทั้งระบบ แต่ควรเน้นด้านการปรับตัวด้วยการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในด้านที่มีศักยภาพอยู่แล้ว เช่น การปรับตัวโดยการนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการเพิ่มผลผลิต ที่มา: ผลงานวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

4 ความเป็นผู้นำในการส่งออกของไทยในปัจจุบัน
สินค้า อาเซียน เอเชีย โลก ข้าว 1 2 มันสำปะหลัง ยางพารา น้ำตาลทราย อาหารทะเลแช่แข็ง กระป๋อง และแปรรูป ไก่สดแช่เย็น แช่แข็ง และแปรรูป 3 ผักผลไม้สดแช่แข็ง กระป๋อง และแปรรูป 15 ยานยนต์และส่วนประกอบ 12 อัญมณีและเครื่องประดับ 6 เครื่องอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ 8 เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ 13 เม็ดพลาสติก 11 ที่มา: Global Trade Atlas 2014

5 ธุรกิจที่เติบโตจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และตลาดอาเซียนที่น่าลงทุน
รู้เขา

6

7

8

9 ผลกระทบเชิงบวก เชิงลบจาก AEC ต่อธุรกิจโดยรวม
ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC

10 แนวทางการปรับตัวและ เตรียมความพร้อม

11 การเตรียมความพร้อมเกษตรกรในภาพรวมสินค้าเกษตร
มีการนำเข้าวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน ลงทุน ผลิตวัตถุดิบและแปรรูปในประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น การปรับตัว/เตรียมความพร้อมของเกษตรกรไทย : พัฒนาตนเองให้เก่งขึ้น ปรับใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ยกระดับความสามารถเกษตรกรไทย ผลิตได้มากขึ้นในพื้นที่เท่าเดิม ต้นทุนผลิตต่อหน่วยลดลง ลดปัญหาแรงงาน รัฐสนับสนุนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ชลประทน การปรับปรุงดิน การลงทุนเครื่องทุนแรง ศูนย์ข้อมูลชุมชนและการกระจายเทคโนโลยี สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมเกษตร และการรวมกลุ่มชุมชน แรงงานในภาคเกษตรอาจลดลง แต่ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น รายได้ต่อหัวสูงขึ้นคุณภาพชีวิตดีขึ้น รายได้ต่อหัวในภาคเกษตรสูง แรงงานอยู่ในภาคบริการและการผลิตมากขึ้น รายได้ต่อหัวเฉลี่ยคนไทยสูงขึ้น ประเทศหลุดพ้นจากการเป็น middle income

12 การปรับตัวของ SMEs ต่อ AEC
ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC

13

14 1.การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน สร้างความเป็นเมืองในจังหวัดภูธร
เทรนด์ของความเชื่อมโยง (Connectivivy megatrend) 6 ประการ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภาคเอกชนไทย 1.การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน สร้างความเป็นเมืองในจังหวัดภูธร 2.Supply Chain ที่ก้าวสู่ระดับภูมิภาค ประเทศพัฒนาแล้ว จ้างหน่วยงานนอกประเทศในการผลิต 3.ใช้ Internet สื่อออนไลน์เพิ่มขึ้น เกิดการแข่งขันรูปแบบใหม่ e-commerce 4.การค้าระหว่างประเทศมีสูงขึ้นจาก Single market 5.การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 6.การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น มีผลต้นทุนการเงิน ใน ASEAN ลดลง

15 Thank You


ดาวน์โหลด ppt กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google