งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
นักวิเคราะห์งบประมาณชำนาญการพิเศษ 2 เมษายน 2562 เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

2 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
ขอบเขตการนำเสนอ กระบวนการจัดการงบประมาณ (Budget Cycle) พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 (เฉพาะที่เกี่ยวข้อง) ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม - การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ - การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายและการใช้จ่ายงบประมาณ (การเบิกจ่าย) - การบริหารงบประมาณรายจ่าย - การโอนเปลี่ยนแปลงรายการ การจำแนกประเภทงบประมาณรายจ่าย การประเมินผลสำเร็จของการจัดสรรงบประมาณ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

3 ความหมายของ “งบประมาณรายจ่าย”
จำนวนเงินอย่างสูงที่อนุญาตให้จ่ายหรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย มาตรา 4 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

4 กระบวนการจัดการงบประมาณ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

5 กระบวนการจัดการงบประมาณ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
กระบวนการจัดการงบประมาณ หรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่า วงจรงบประมาณ (Budget Cycle) คือ กิจกรรมที่ต้องดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ โดยปกติวงจรงบประมาณจะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน Budget Cycle สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

6 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การวางแผนงบประมาณ การทบทวนงบประมาณ 1. การประเมินผล ก่อนการดำเนินงาน ระหว่างการดำเนินงาน หลังการดำเนินงาน 5. การจัดทำงบประมาณ จัดทำโครงสร้างแผนงานตามยุทธศาสตร์ จัดทำ คำขอ งปม. พิจารณาคำขอ งปม. จัดทำร่าง พรบ. งบประมาณ เสนอร่าง พรบ. งบประมาณ 2. กระบวนการงบประมาณ การบริหารงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติงาน จัดทำแผนใช้จ่ายงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ 4. การอนุมัติงบประมาณ พิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณ โดยฝ่ายนิติบัญญัติ การตราพระราชบัญญัติ 3. สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

7 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การทบทวนงบประมาณ รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณปีที่ผ่านมา รายงานการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน (PART) ทบทวน/ปรับปรุง เป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต กิจกรรม ตัวชี้วัด ปรับปรุงฐานข้อมูลประมาณการรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) จัดทำประมาณการายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จะเป็น 1. การวางแผน งบประมาณ การวางแผนงบประมาณ จัดทำข้อเสนอวงเงินงบประมาณเบื้อต้น จัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ กำหนดนโยบายและวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี จัดทำยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

8 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
จัดทำแผนงานยุทธศาสตร์ จัดทำคำของบประมาณ พิจารณาคำของบประมาณ จัดทำร่าง พรบ. งบประมาณ เสนอร่าง พรบ. งบประมาณ 2. การจัดทำ งบประมาณ 3. การอนุมัติ งบประมาณ พิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณ โดย สภาผู้แทนราษฎร 3 วาระ (105 วัน) พิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณ โดยวุฒิสภา (20 วัน) การตราพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

9 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
จัดทำแผนปฏิบัติงาน จัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ 4. การบริหาร งบประมาณ 5. การติดตาม ประเมินผล การรายงานผลการดำเนินงาน การติดตามผลการดำเนินงาน การประเมินผล สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

10 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงินการคลังและงบประมาณ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณรายจ่ายสำหรับแผนงานบูรณาการ พ.ศ.2559 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2550 พ.ร.ฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

11 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

12 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
บททั่วไป (มาตรา 6) (1) การจัดทำงบประมาณ (2) การบริหารงบประมาณ (3) การควบคุมงบประมาณ และการประเมินผลและการรายงาน ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.นี้ และสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

13 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
ลักษณะของงบประมาณ (มาตรา 14) งบประมาณรายจ่าย จำแนกได้ ดังนี้ 1. งบกลาง 2. หน่วยรับงบประมาณ 3. งบบูรณาการ 4. งบบุคลากร 5. งบทุนหมุนเวียน 6. งบการชำระหนี้ภาครัฐ 7. งบชดใช้เงินคงคลัง 8. งบชดใช้เงินทุนสำรองจ่าย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

14 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การบริหารงบประมาณรายจ่าย (มาตรา 34) หน่วยรับงบประมาณ ต้องจัดทำแผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เสนอต่อผู้อำนวยการ และเมื่อสำนักงบประมาณพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนฯ แล้ว ก็จะจัดสรรงบประมาณให้หน่วยรับงบประมาณต่อไป สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

15 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การโอนงบประมาณรายจ่าย (มาตรา 35) หน่วยรับงบประมาณ จะโอนงบประมาณให้หน่วยงานอื่นมิได้ เว้นแต่ มี พ.ร.บ. โอนงบประมาณ กรณีมี พ.ร.ฎ. รวมหรือโอนส่วนราชการ การโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการภายใต้แผนงานเดียวกัน โดยความเห็นชอบของ การโอนงบประมาณรายจ่ายบุคลากรภายใต้แผนงานเดียวกัน คณะรัฐมนตรี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

16 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การโอนงบประมาณรายจ่าย (มาตรา 36) งบประมาณรายจ่ายของหน่วยงานที่กำหนดไว้ในแผนงานหรือรายการใด จะโอนหรือนำไปใช้ในแผนงานหรือรายการอื่นมิได้ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากผู้อำนวยการ การโอนเพื่อเพิ่มรายจ่ายประเภทเงินราชการลับ หรือเป็นแผนงาน หรือโครงการใหม่ จะต้องได้รับจากคณะรัฐมนตรี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

17 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การควบคุมงบประมาณ (มาตรา 38) รัฐมนตรีเจ้าสังกัดมีหน้าที่กำกับหรือควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐอย่างเคร่งครัด การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพัน (มาตรา 40) การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพัน ต้องเป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการและต้องได้รับการอนุมัติเงินจัดสรรจากผู้อำนวยการ และ กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วน คณะรัฐมนตรี อนุมัติให้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันก่อนได้รับเงินจัดสรรได้ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

18 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การอนุมัติก่อหนี้ผูกพัน (มาตรา 41) ผู้อำนวยการรวบรวมรายการงบประมาณที่จะต้องก่อหนี้ผูกพันและรอเงินที่คาดว่าจะต้องก่อหนี้ รวมทั้งจำนวนเงินเผื่อเหลือเผื่อขาด เสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติภายใน 60 วัน นับตั้งแต่กฎหมายงบประมาณมีผลใช้บังคับ การก่อหนี้ผูกพันกรณีจำเป็นเร่งด่วน (มาตรา 42) กรณีจำเป็นเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีมีอำนาจอนุมัติให้ก่อหนี้ผูกพันเกินกว่า หรือนอกเหนือจากที่กำหนดได้ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

19 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การควบคุมงบประมาณ (มาตรา 38) รัฐมนตรีเจ้าสังกัดมีหน้าที่กำกับหรือควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐอย่างเคร่งครัด การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพัน (มาตรา 40) การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพัน ต้องเป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการและต้องได้รับการอนุมัติเงินจัดสรรจากผู้อำนวยการ และ กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วน คณะรัฐมนตรี อนุมัติให้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันก่อนได้รับเงินจัดสรรได้ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

20 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การเบิกเงินจากคลัง (มาตรา 43) การเบิกเงินจากคลังให้เบิกจ่ายเฉพาะภายในปีงบประมาณนั้น กรณีไม่สามารถเบิกเงินได้ภายในปีงบประมาณ ให้ขยายเวลาเบิกจ่ายเงินจากคลังได้เฉพาะรายการที่ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปี และให้กันเงินไว้แล้ว การขยายเวลาการขอเบิกเงินจากคลัง ขยายได้ไม่เกิน 6 เดือน เว้นแต่มีความจำเป็น ให้ขอตกลงกับกระทรวงการคลัง ขยายได้อีกไม่เกิน 6 เดือน สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

21 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การติดตามและประเมินผล (มาตรา 47) หน่วยรับงบประมาณ ต้องมีระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารงบประมาณ ที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเปิดเผยต่อสาธารณชนด้วย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

22 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การประเมินผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 48) การประเมินผลสัมฤทธิ์ของการใช้จ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายหรือตัวชี้วัดที่กำหนด ให้ผู้อำนวยการจัดทำข้อเสนอแนะปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด และรายงานรัฐมนตรีเจ้าสังกัด กรณีที่ไม่สามารถปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ผู้อำนวยการรายงานต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

23 การจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ
งบประมาณรายจ่าย จำแนกได้ ดังนี้ (มาตรา 14) 1. งบกลาง 2. หน่วยรับงบประมาณ 3. งบบูรณาการ 4. งบบุคลากร 5. งบทุนหมุนเวียน 6. งบการชำระหนี้ภาครัฐ 7. งบชดใช้เงินคงคลัง 8. งบชดใช้เงินทุนสำรองจ่าย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

24 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
รายจ่ายตามข้อผูกพันที่ต้องจัดสรร ภาระผูกพันงบประมาณ (สัญญา/ม.23) ค่าตอบแทนพนักงานราชการ (ก.พ.อนุมัติและทำสัญญาจ้างแล้ว) นักเรียนทุน ไม่ร่วมทุนใหม่ รายจ่ายชำระหนี้เงินกู้ เงินอุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การชดใช้เงินคงคลัง สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

25 รายการตามภารกิจพื้นฐาน สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
แผนงานพื้นฐาน หมายถึง แผนงานที่ดำเนินภารกิจตามหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นปกติประจำตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานนั้นๆ หากหยุดดำเนินการอาจก่อให้เกิดความเสียหายในการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ ซึ่งมีลักษณะงานและปริมาณงานที่ชัดเจนต่อเนื่อง รักษางานเดิม เพิ่มเป้าหมาย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

26 รายการตามภารกิจยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
แผนงานยุทธศาสตร์ หมายถึง แผนงานที่ดำเนินภารกิจตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายในเชิงนโยบายที่ต้องการผลักดันหรือเห็นความสำคัญในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่สำนักงบประมาณกำหนด และคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ นโยบายสำคัญของรัฐบาล นโยบายอื่น พิจารณาเป็น 2 ลักษณะ - นโยบายต่อเนื่อง - นโยบายใหม่ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

27 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การบริหารงบประมาณ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

28 กระบวนการบริหารงบประมาณ งบฯ ชดใช้เงินทุนสำรองจ่าย
การจัดทำแผนฯ / ปรับแผน การจัดสรร การใช้จ่าย การโอน / เปลี่ยนแปลง การรายงาน 1 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ 1 ระเบียบการใช้งบกลางรายการเงินสำรองจ่าย ฉฉ. งบกลาง 3 ระเบียบฯ ระเบียบฯ ระเบียบฯ ข้อ ระเบียบฯ ข้อ ระเบียบฯ ข้อ 2 งบฯ หน่วยรับงบประมาณ 3 งบฯ บูรณาการ งบฯ บุคลากร 4 ระเบียบฯ โอนข้ามหน่วยรับงบประมาณ 2 งบฯ ทุนหมุนเวียน 5 6 งบฯ ชำระหนี้ภาครัฐ 7 งบฯ ชดใช้เงินคงคลัง 8 งบฯ ชดใช้เงินทุนสำรองจ่าย ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี 4

29 การบริหารงบประมาณ : กฎหมาย/ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
1 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับแผนงานบูรณาการ พ.ศ. 2559 พ.ร.บ. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 2 3 4 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

30 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ และแก้ไขเพิ่มเติม เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

31 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

32 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ต่อ)
สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

33 หลักการสำคัญของระเบียบฯ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
กำหนดให้มีความสอดคล้องกับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานฯ กำหนดวิธีการจัดสรรงบประมาณ/โอนเปลี่ยนแปลงฯ โดยลดขั้นตอน ให้ส่วนราชการฯ บริหารอย่างรวดเร็วเกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่า กำหนดการมอบอำนาจและความรับผิดชอบ ให้หัวหน้าส่วนราชการฯ บริหารงบฯ ได้อย่างยืดหยุ่น และคล่องตัวสูงด้วยตนเองมากที่สุด กำหนดให้ส่วนราชการฯ บริหารให้บรรลุเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ตามแผนงาน และแผนงานบูรณาการ กำหนดเครื่องมือ 1. ต้นทุน 2. แผนฯ 3. การรายงานผล 4. GFMIS กำหนดการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล คุ้มค่า โปร่งใส เปิดเผย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

34 หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทั่วไป สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การใช้งบประมาณรายจ่าย จำแนกเป็น 2 ประเภท (ระเบียบฯ ข้อ 5 ) 1. งบประมาณรายจ่ายสำหรับส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ - ให้ใช้ตามรายการที่ระบุในเอกสารประกอบ พ.ร.บ. หรือตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณของส่วนราชการฯ หรือที่ได้อนุมัติโอนเปลี่ยนแปลง - ให้ใช้จ่ายเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิตหรือโครงการ 2. งบประมาณรายจ่ายงบกลาง - งบกลางตามสิทธิ โดยขอเบิกจ่ายจากกรมบัญชีกลางตามที่จ่ายจริง - งบกลางอื่น ให้ใช้จ่ายตามที่ได้รับอนุมัติจัดสรรงบประมาณ เป็นผลผลิต โครงการ หรือรายการ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

35 หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทั่วไป (ต่อ)
การมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด (ระเบียบฯ ข้อ 6 วรรคสาม) หลักการมอบ : 1. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ให้มอบตามที่หัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดมีอำนาจ 2. ราชการส่วนกลาง ให้มอบตามความเหมาะสมกับ ระดับตำแหน่ง และความรับผิดชอบ เมื่อมอบแล้ว : ให้ส่งสำเนาแจ้ง บก. สตง. และ สงป. ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่มอบอำนาจ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

36 หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทั่วไป (ต่อ)
การจัดเตรียมความพร้อมในการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี (ระเบียบฯ ข้อ 6 ข้อ 17 และมติ ครม. 13 มี.ค ) (1) งบดำเนินงาน : ตรวจสอบกฎ ระเบียบ มติ ครม. รองรับการจ่าย (2) งบลงทุน : ค่าครุภัณฑ์ กำหนด Spec. รายชื่อ จำนวน ราคา วงเงินรายละเอียดการซื้อ หรือจะดำเนินการเองให้ ครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน งบลงทุน : ค่าที่ดิน สำรวจเนื้อที่ กรรมสิทธิ์ การจัดหา รายการ วงเงิน (3) งบอุดหนุน : อุดหนุนนิติบุคคล เอกชน NGO ตามวัตถุประสงค์ และกำหนดหลักเกณฑ์ติดตามผล งบอุดหนุน : หน่วยงานลักษณะพิเศษ นำเอา(1)/(2)มาใช้โดยอนุโลม (4) งบรายจ่ายอื่น : ให้นำเอา(1)/(2)มาใช้โดยอนุโลม สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

37 หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทั่วไป (ต่อ)
การจัดเตรียมความพร้อมในการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี (ระเบียบฯ ข้อ 6 ข้อ 17 และมติ ครม. 13 มี.ค ) การกำหนดราคากลางให้เป็นปัจจุบัน กรณีที่หัวหน้าส่วนราชการได้ความเห็นชอบราคากลางงานก่อสร้าง และจะต้อง ประกาศประกวดราคาภายใน 30 วัน ถ้าดำเนินการไม่ทันให้พิจารณาทบทวนราคากลางใหม่ ให้เป็นปัจจุบัน สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

38 หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทั่วไป (ต่อ)
การจัดเตรียมความพร้อมในการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี (ระเบียบฯ ข้อ 6 ข้อ 17 และมติ ครม. 13 มี.ค ) การเปิดเผยราคากลาง มติ ครม. 4 ธ.ค. 2555 - ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ รวมถึง อปท. ให้ถือปฏิบัติตามแนวทาง การเปิดเผยราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ - เปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในเว็บไซต์ของหน่วยงาน / กรมบัญชีกลาง สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

39 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ (ระเบียบฯ ข้อ 11 ข้อ 12 และข้อ 13) การจัดทำแผนฯ : ให้ทำตามผลผลิต/โครงการ เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน/แผนงานหรือแผนงานบูรณาการ ตามวงเงินงบประมาณแต่ละรายการที่ระบุไว้ในเอกสารประกอบพระราชบัญญัติฯ เวลาจัดส่ง : ไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันเริ่มต้นปีงบประมาณ (16 ก.ย.) ข้อบังคับใช้ : แผนฯ ต้องได้รับความเห็นชอบก่อนใช้จ่ายหรือก่อหนี้ฯ แผนงานบูรณาการ : ให้ร่วมกันจัดทำให้สอดคล้องกัน การจัดทำระบบข้อมูล/กำหนดค่าการวัด : ใช้ในการรายงานผล การจัดส่ง : ด้วยระบบฐานข้อมูลแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ (BB EvMis) สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

40 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (ระเบียบฯ ข้อ 14) เมื่อ พ.ร.บ. งบประมาณประกาศบังคับใช้ : (1) จัดสรรเต็มจำนวนตามรายการ/จำนวนเงินที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภาตามเอกสาร พ.ร.บ งบประมาณฯ โดยสอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว (2) จัดสรรโดยระบุจำนวนเงิน แผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ งบรายจ่าย และรายการไว้ที่สำนักเบิกส่วนกลาง ยกเว้น : ส่วนราชการที่มีที่ตั้งในภูมิภาค ให้ระบุที่สำนักเบิกภูมิภาคตามที่ตั้งส่วนราชการฯ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

41 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (ระเบียบฯ ข้อ 14) (ต่อ) (3) งบประมาณที่จัดสรร ให้มีผลนับตั้งแต่วันที่ พ.ร.บ. งบประมาณฯประกาศบังคับใช้ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา) และให้ส่วนราชการฯ ใช้จ่ายหรือก่อหนี้ได้ถัดจากวันประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณฯ แต่ให้มีผลตั้งแต่ : วันเริ่มต้นปีงบประมาณ (๑ ตุลาคม) หรือวันที่กำหนดเป็นวันเริ่มต้นการบังคับใช้กฎหมาย ยกเว้น : รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามมาตรา 41 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณฯ (และให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549) สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

42 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (ต่อ) (4) ส่วนราชการฯ ใช้แผนการปฏิบัติงานฯ ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงบประมาณ ในการใช้จายหรือก่อหนี้ฯ และขอเบิกจ่ายงบประมาณ (ร. ข้อ 15) (5) สงป. จะจัดสรรเต็มจำนวน แม้ยังไม่ส่งแผนฯ หรือแผนฯ ยังไม่ได้รับความเห็นชอบ หากยังไม่จัดส่งภายใน 15 วันนับแต่วัน พ.ร.บ. ประกาศใช้ สงป. จะรายงานการไม่ส่งแผนฯ ต่อนายกรัฐมนตรี (ร. ข้อ 16) (6) ให้ส่วนราชการฯ รับผิดชอบรายละเอียด รูปแบบ การจัดหาฯ รายการที่จัดสรรงบฯ แล้ว หากผิดพลาดในข้อความที่ไม่ผิดวัตถุประสงค์ ให้หัวหน้าส่วนราชการฯ แก้ไขรายการได้ (ร. ข้อ 17) สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

43 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (ต่อ) (7) หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถแก้ไขรายละเอียดรายการครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้างที่จัดสรรงบฯ แล้วในงบรายจ่ายต่างๆ ที่ไม่ใช่ก่อหนี้ผูกพันฯ ได้โดยไม่เพิ่มวงเงินงบประมาณฯ (ร. ข้อ 18) (8) การจัดสรรงบฯ ที่มีเงินกู้ต่างประเทศ ให้ระบุเงินที่ขอใช้เงินทดรองราชการ โดยระบุไว้ที่สำนักเบิกส่วนกลาง (ร. ข้อ 19) (9) งบฯ ที่ได้รับจัดสรรแล้ว ให้หัวหน้าส่วนราชการฯ เร่งโอนจัดสรรไปยังสำนักเบิกภูมิภาคโดยไม่ชักช้า (15 วัน) ตามแผนงาน หรือแผนฯบูรณาการ ผลผลิต โครงการ กิจกรรม งบรายจ่าย รายการ และจำนวนเงิน โดยต้องสอดคล้องกับ แผนฯ ยกเว้น งบบุคลากรประเภทเงินเดือน และค่าจ้างประจำ (ร. ข้อ 20) สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

44 ภายใต้แผนงานเดียวกัน
การบริหารงบประมาณ : การใช้รายจ่ายที่ได้รับจัดสรร (ระเบียบข้อ 21) 1. งบบุคลากร ภายใต้แผนงานเดียวกัน ถัวจ่ายกันได้ภายในงบนี้ ยกเว้น เงินเดือน/ค่าจ้างประจำ อัตราตั้งใหม่ ให้จ่ายได้ตามที่กำหนดในใบยืนยันยอด หรือ ตามที่ได้รับความตกลงกับสำนักงบประมาณ ปัจจุบัน งบบุคลากรอยู่ภายใต้แผนงานบุคลากรภาครัฐ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

45 การบริหารงบประมาณ : การใช้รายจ่ายที่ได้รับจัดสรร (ต่อ)
2. งบดำเนินงาน ถัวจ่ายกันได้ภายในงบนี้ ยกเว้น รายจ่ายประเภทค่าสาธารณูปโภค จะนำไปใช้จ่ายในประเภทอื่นได้ ก็ต่อเมื่อ ไม่มีหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระ 3. งบลงทุน ให้ใช้จ่ายตามรายการและวงเงินที่ได้รับจัดสรร สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

46 การบริหารงบประมาณ : การใช้รายจ่ายที่ได้รับจัดสรร (ต่อ)
4. งบเงินอุดหนุน 4.1 เงินอุดหนุนทั่วไป ให้ใช้จ่ายตามรายการและจำนวนเงินที่กำหนด 4.2 เงินอุดหนุน เฉพาะกิจ ให้ใช้จ่ายตามรายการและจำนวนเงินที่กำหนด และหากเบิกจ่ายในลักษณะงบรายจ่ายใด (งบบุคลากร / งบดำเนินงาน / งบลงทุน) ก็ถือปฏิบัติเหมือนงบรายจ่ายนั้น สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

47 การบริหารงบประมาณ : การใช้รายจ่ายที่ได้รับจัดสรร (ต่อ)
5. งบรายจ่ายอื่น ให้ใช้จ่ายตามรายการและจำนวนเงินที่กำหนด และหากเบิกจ่าย ในลักษณะงบรายจ่ายใด (งบบุคลากร / งบดำเนินงาน / งบลงทุน) ก็ถือปฏิบัติเหมือนงบรายจ่ายนั้น สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

48 การจำแนกประเภทรายจ่าย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
รายละเอียด 1. งบบุคลากร เงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทนพนักงานข้าราชการ 2. งบดำเนินงาน (ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค) ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย (เบี้ยเลี้ยง ที่พัก พาหนะ) ค่าวัสดุ: สิ่งของ (ตามเกณฑ์หนังสือเวียน สงป. ที่ นร 0709/ว37 ลว. 6 ม.ค. 59) จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 20,000 บาท/ต่อหน่วยหรือชุด ต่อเติม ปรับปรุงครุภัณฑ์ ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อเติม ปรับปรุงที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ไม่เกิน 50,000 บาท 3. งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ค่าครุภัณฑ์ : สิ่งของราคาต่อหน่วยหรือชุด (ตามเกณฑ์หนังสือเวียน สงป. ที่ นร 0709/ว37 ลว. 6 ม.ค. 59) จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เกินกว่า 20,000 บาท ต่อเติมปรับปรุงครุภัณฑ์ เกินกว่า 5,000 บาท ปรับปรุงที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เกินกว่า 50,000 บาท สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

49 การจำแนกประเภทรายจ่าย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
รายละเอียด 4. งบเงินอุดหนุน - เงินอุดหนุนทั่วไป อุดหนุนให้นิติบุคคล เอกชน กิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ หรือองค์กรต่างๆ ที่ไม่ใช่ส่วนราชการ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการขอรับเงินอุดหนุน อุดหนุนให้หน่วยงานลักษณะพิเศษของรัฐ เช่น องค์การมหาชน มหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ เป็นต้น ให้ใช้จ่ายในลักษณะค่าใช้จ่ายต่างๆ (ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายลงทุน) - เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ให้ใช้จ่ายในลักษณะค่าใช้จ่ายต่างๆ ตามรายละเอียดที่กำหนด เช่น ค่าใช้จ่ายลงทุนในรายการครุภัณฑ์ รายการค่าที่ดิน หรือรายการค่าสิ่งก่อสร้าง 5. งบรายจ่ายอื่น - ค่าจ้างที่ปรึกษา เพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆ - เงินราชการลับ - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางราชการต่างประเทศชั่วคราว - ค่าใช้จ่ายสำหรับกองทุน หรือเงินทุนหมุนเวียน สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

50 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
หลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณฯ (ระเบียบฯ ข้อ 23) (1) เพื่อแก้ไขปัญหาในการดำเนินการ (2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ (3) เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการ (4) เพื่อพัฒนาบุคลากร (5) เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี หรือ (6) เพื่อสนับสนุนการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด * รวมทั้ง : ต้องมีความสอดคล้องกับ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง และเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

51 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
หลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณฯ (ระเบียบฯ ข้อ 23) (ต่อ) ทั้งนี้ ต้องแสดงเหตุผลความจำเป็นหรือความเหมาะสม โดยต้องคำนึงถึง : (1) ประโยชน์ของประชาชน (2) ความประหยัด (3) ความคุ้มค่า (4) ความโปร่งใส และต้องไม่ทำให้ : เป้าหมายผลผลิต/โครงการตามแผนฯ เปลี่ยนแปลงลดลงในทางที่เป็นสาระสำคัญ และค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้นปีงบประมาณ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

52 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย ตามอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการฯ (ระเบียบฯ ข้อ 24 ข้อ 25 และข้อ 26) มี 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1 : การโอนเปลี่ยนแปลงระหว่างงบรายจ่าย และระหว่างผลผลิต/โครงการ ภายใต้แผนงานเดียวกัน (ระเบียบฯ ข้อ 24) หัวหน้าส่วนราชการฯ มีอำนาจโอน/เปลี่ยนแปลงรายการ ได้ด้วยตนเอง ยกเว้น : (1) การกำหนดอัตราบุคลากรที่ตั้งใหม่ (2) รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ (3) ต้องไม่เป็นการจัดหาครุภัณฑ์ยานพาหนะ / ค่าที่ดิน (4) ค่าเดินทางไป ตปท. ที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผนฯ (5) ค่าครุภัณฑ์ ราคาต่อหน่วยตั้งแต่ 1 ล้านบาท ขึ้นไป (6) ค่าสิ่งก่อสร้าง ราคาต่อหน่วยตั้งแต่ 10 ล้านบาท ขึ้นไป สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

53 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบฯ ตามอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการฯ มี 3 ลักษณะ คือ (ต่อ) ลักษณะที่ 2 : การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ เหลือจ่าย ภายใต้แผนงานเดียวกัน (ระเบียบฯ ข้อ 25) (1) การกำหนดอัตราบุคลากรตั้งใหม่ (2) ค่าที่ดิน หรือ รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ (3) ค่าเดินทางไปตปท.ที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผน (4) ค่าครุภัณฑ์ ราคาต่อหน่วยตั้งแต่ 1 ล้านบาท ขึ้นไป (5) ค่าสิ่งก่อสร้าง ราคาต่อหน่วยตั้งแต่ 10 ล้านบาท ขึ้นไป (6) ครุภัณฑ์ยานพาหนะใหม่ (ยกเว้นทดแทน) สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

54 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบฯ ตามอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการฯ มี 3 ลักษณะ คือ (ต่อ) ลักษณะที่ 3 : การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ เพิ่มวงเงินค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ภายใต้แผนงานเดียวกัน (ระเบียบฯ ข้อ 26) ***** ต้องเป็นกรณีจัดหาแล้วไม่ได้ ราคาเกินวงเงินไม่เกิน 10% หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนฯ จากงบรายจ่ายใดๆ หรือนำเงินนอกงบประมาณมาสมทบได้ด้วยตนเอง ยกเว้น : (1) ต้องเป็นรายการที่ได้จัดสรร หรืออนุมัติโอนเปลี่ยนแปลงแล้ว (2) ต้องไม่เป็นรายก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ (3) ราคาต่อหน่วย หมายถึง หนึ่งหน่วยเป็นหนึ่งรายการ *** การโอนทั้ง 3 ลักษณะ ให้เลือกใช้ให้ยืดหยุ่น คล่องตัวและถูกต้อง สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

55 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณฯ ที่ต้องตกลงกับสำนักงบประมาณ (ระเบียบฯ ข้อ 27 ) ***** การโอนนอกเหนือจากที่ได้มอบอำนาจไว้ในระเบียบนี้ หัวหน้าส่วนราชการฯ ต้องพิจารณาและขอทำ ความตกลงกับ สงป. ดังนี้ (1) วิเคราะห์ความจำเป็น ตามระเบียบฯ ข้อ 23 (2) หากต้องปรับปรุงแผนฯ ให้ทำความตกลงมาพร้อมกัน (3) ให้จัดทำและส่งด้วย GFMIS และจัดทำหนังสือขอตกลงกับ สงป. และ สงป. จะตอบเป็นหนังสือและส่งด้วย GFMIS (4) สงป. จะต้องวิเคราะห์ความจำเป็นการโอนตามระเบียบฯ ข้อ 23 *** การนำเงินงบฯ ปีปัจจุบันไปสมทบเงินกันเหลื่อมปี ตามวัตถุประสงค์เดิม ให้ขอทำความตกลงกับ สงป. ด้วย สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

56 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณฯ ที่ต้องขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีก่อน (พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561) ***** หัวหน้าส่วนราชการฯ ต้องพิจารณา ดังนี้ (1) การโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการภายใต้แผนงานบูรณาการเดียวกัน (พ.ร.บ.ฯ ม.35) (2) การโอนงบประมาณรายจ่ายบุคลากรภายใต้แผนงานแผนงานบุคลากรภาครัฐ (พ.ร.บ.ฯ ม.35) (3) การโอนฯ ที่เป็นผลทำให้เกิดรายจ่ายประเภทเงินราชการลับ (พ.ร.บ. ม.36) (4) การโอนฯ ข้าม“แผนงาน”หรือ“ประเด็นยุทธศาสตร์หลัก” (พ.ร.บ. ม.36) (5) ต้องตรวจสอบตาม พ.ร.ฎ. บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ ม. 18 ด้วยว่า - ไม่อาจดำเนินการตามวัตถุประสงค์ต่อไปได้ หมดความจำเป็น/ไม่เป็นประโยชน์ - หากดำเนินการต่อไปจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็น - มีความจำเป็นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลง สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

57 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายงบกลาง (ระเบียบฯ ข้อ 29 ) ส่วนราชการ ขอเบิกจ่ายงบกลางจากกรมบัญชีกลาง รายการดังนี้ เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ เงินเลื่อนเงินเดือน และเงินปรับวุฒิข้าราชการ เงินสำรอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ 5. เงินสมทบของลูกจ้างประจำ 6. ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล 7. ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ * รายการที่ 3 ให้โอนตั้งจ่ายในงบบุคลากรประเภทเงินเดือนและค่าจ้างประจำของแผนงานบุคลากรภาครัฐ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

58 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การขอใช้งบประมาณรายจ่ายงบกลาง (ระเบียบฯ ข้อ 30 ) สำหรับส่วนราชการ มีความจำเป็นต้องใช้งบกลาง ให้ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ โดยแสดงรายละเอียด แผนงาน ผลผลิต/โครงการ รายการ ที่จะเบิกจ่ายในงบรายจ่าย จำนวน และชี้แจงเหตุผลความจำเป็นของการขอใช้ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

59 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
การขอใช้งบกลางเหลือจ่าย (ระเบียบฯ ข้อ 34 ) ส่วนราชการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณงบกลาง และนำไปใช้จ่ายจนบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิต/โครงการ แล้วมีเงินเหลือจ่าย ให้นำส่งคืนคลัง ยกเว้นกรณีจำเป็น ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก่อน สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

60 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การรายงานผล ส่วนราชการต้องมีระบบรายงานผล ดังนี้ (ระเบียบฯ ข้อ ) รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ รายงานประจำปีที่แสดงถึงความสำเร็จในการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับเป้าหมาย การให้บริการ โดยมีตัวชี้วัดที่ชัดเจน กรณีที่ไม่จัดส่งรายงานตามระยะเวลาที่กำหนด โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องแสดงเหตุผล ความจำเป็นต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรณีที่ส่วนราชการไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนฯ สำนักงบประมาณจะรายงานผลต่อนายกรัฐมนตรี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

61 การติดตามและประเมินผล สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

62 การติดตามและประเมินผลงบประมาณ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
ผลกระทบ Impact ประเมินผล KPI 5 มิติ ปริมาณ/คุณภาพ/เวลา/ สถานที่/กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ Outcome ผลผลิต Output KPI 4 มิติ - เชิงปริมาณ/คุณภาพ/ เวลา/ต้นทุน ติดตามผล กิจกรรม Process KPI 2 มิติ - ปริมาณงาน/ ระยะเวลา ทรัพยากร Input สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

63 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
การรายงานผล 1. ติดตาม : ดูความก้าวหน้า 2. ประเมินผล :ดูความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงิน รายสัปดาห์ รายเดือน รายไตรมาส ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

64 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณรายจ่าย สำหรับแผนงานบูรณาการ พ.ศ. 2559
เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

65 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
หลักการสำคัญของการใช้จ่ายงบประมาณฯ (ระเบียบฯ สำหรับแผนงานบูรณาการ พ.ศ.2559) ข้อ 12 : หัวหน้าส่วนราชการสามารถกระทำได้ โดยไม่ต้องตกลงกับสำนักงบประมาณ - เปลี่ยนแปลงรายละเอียดของโครงการ กิจกรรม หรือรายการ โดย (1) ไม่กระทบวัตถุประสงค์ เป้าหมายฯ (2) มิใช่รายการผูกพันข้ามปีงบประมาณในแผนงานบูรณาการ (3) แก้ไขข้อความที่พิมพ์คลาดเคลื่อน ตกหล่น (4)เปลี่ยนแปลงประเภทรายจ่ายตามหลักการจำแนกฯ (5) เปลี่ยนแปลงรายละเอียดแบบรูปรายการสิ่งก่อสร้าง (6) ตามข้อ (1) – (5) ต้องไม่เพิ่มวงเงินงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรร * รวมทั้ง : ต้องมีความสอดคล้องกับ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง และเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

66 การบริหารงบประมาณสำหรับส่วนราชการ (ต่อ)
หลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณฯ (ระเบียบฯ สำหรับแผนงานบูรณาการ พ.ศ ข้อ 14,15,16 (1) ห้ามโอนไปตั้งจ่ายในแผนงานอื่น (2) ไม่สามารถดำเนินการใช้จ่าย/ก่อหนี้ผูกพันภายใต้แผนงานฯ ที่ สงป.เห็นชอบไว้ (3) เหลือจ่ายการการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์แล้ว (4) หมดความจำเป็นไม่ว่ากรณีใด (5) จำเป็นต้องดำเนินการ แต่ไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณ การโอนฯ ตาม (2) , (4) , (5) ต้องให้รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เห็นชอบ/ รายงานหน่วยเจ้าภาพ การโอนฯ ตาม (3) ต้องให้รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีเจ้าสังกัด /หน่วยงานเจ้าภาพทราบ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

67 การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี (พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 ม.27) - มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2541 (หนังสือ สลค. ด่วนที่สุด ที่ นร 0206/ว 158 ลว. 29 ก.ย.2541) กรณีไม่มีหนี้ผูกพัน / กรณีมีหนี้ผูกพัน (1) กระทรวงการคลังพิจารณาอนุมัติการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี/ขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน (2) สำนักงบประมาณพิจารณาอนุมัติการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี (ร.ข้อ 27) สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

68 การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี (พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 ม.43) - มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2541 (หนังสือ สลค. ด่วนที่สุด ที่ นร 0206/ว 158 ลว. 29 ก.ย.2541) เฉพาะกรณีมีหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ (1) กระทรวงการคลังพิจารณาอนุมัติการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี/ขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน ได้ไม่เกิน 6 เดือน เว้นแต่มีความจำเป็นต้องเบิกจ่ายเกิน 6 เดือน ต้องขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง ได้อีกไม่เกิน 6 เดือน (2) สำนักงบประมาณพิจารณาอนุมัติการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี (ตามระเบียบฯ 2548 เหมือนเดิม จนกว่าจะมีการกำหนดระเบียบฯ ใหม่) สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

69 การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี (พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ บทเฉพาะกาล ม.56 – ม.57) - งบประมาณรายจ่ายปี 2560 ประเภทงบกลาง ที่ยังมิได้ก่อหนี้ผูกพัน แต่ได้กันเงินและขยายเวลาเบิกจ่ายเงินจากกระทรวงการคลังไว้ เบิกจ่ายให้แล้วเสร็จภายใน 30 ก.ย รายการ ดังนี้ (1) รายการค่าใช้จ่ายเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับประมุขต่างประเทศ (2) ค่าใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (3) เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น - งบประมาณรายจ่ายปี 2561 ประเภทงบกลาง ให้ก่อหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภายใน 30 ก.ย.2562 และเบิกจ่ายให้แล้วเสร็จภายใน 30 ก.ย.2563 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้

70 สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget
ขอขอบคุณ สำนักงบประมาณ ● Bureau of the Budget เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลที่ทันสมัยและเชื่อถือได้


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google