อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมวิชาการวันที่ กันยายน
Advertisements

บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
การมุงครอบสันหลังคาออนดูลีนทับซ้อนกัน
CONTROL VALVE LEAKAGE TEST INSPECTION
การสังเคราะห์การแสวงหาของวันแรก
เรื่อง การสร้างลำดับรายการ Web page Design and Development
โรคที่สำคัญในสุกร.
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
A point is an equilibrium point (critical point) for a
1 สาระสำคัญในการประเมินผลแนวใหม่ จากกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงไป วิธีการวัดผล ประเมินผลจึงต้องเปลี่ยนแปลงไป สรุปได้ ดังนี้ 1. เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการเรียน.
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม จากสงครามเย็นสู่ปัจจุบันและอนาคต
คุณค่าดุษฎีนิพนธ์ต่อสังคมไทย
Lab Apparatus อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ
มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
มุมมองการอุดมศึกษาไทย
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โดย วรากรณ์ สามโกเศศ บทบาทวิทยาลัยชุมชน ตอบสนอง ชี้นำ เตือนสติ อย่างไร ?
Biosynthesis of Heme.
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
WorkShop I (10 points) ค้นหาข้อมูลบน Internet ทำเป็นชิ้นงานส่งมา ทาง – เลขที่ 1-5 ความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ – เลขที่ 6-10 กระบวนการผลิตสารสนเทศ.
โดย วรากรณ์ สามโกเศศ ปฐมนิเทศนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย.
แผ่นดินไหว (Earthqua ke) ขนาด ( ริกเตอร์ ) ความ รุนแรง ( เมร์กัลลี่ ) น้อยกว่า 3.0 I - II ประชาชนไม่รู้สึก ใช้ชีวิตตามปกติ ตรวจวัดได้เฉพาะ เครื่องมือ.
English today! Never let each day slip by fruitlessly. Some degree of value must be achieved. อย่าปล่อยให้แต่ละวันผ่านไปอย่างไร้ค่า ต้องสร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้นมา.
เทคนิคการปรับกล้อง.
 II. UNDERSTANDING VOCABULARY (P.77)  1. e  2. g  3. i  4. f  5. j  6. b  7. h  8. a  9. c  10. d.
การวิเคราะห์ข้อมูลสูญหาย และข้อมูลที่มีซ้ำไม่เท่ากัน ด้วย GLM
Collecting / Grouping / Sorting Data
แนวทางการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดไมอีโลมา เพื่อประกอบการเบิกจ่ายค่าชดเชยการบริการทางการแพทย์ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พญ.ลลิตา นรเศรษฐธาดา.
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายป้องกันและปราบรามการทุจริต
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
การถ่ายเทพลังงาน โดย ดร.อรวรรณ ริ้วทอง :
Well-Tempered Clavier Bach werke verzeichnis
ตลาดทุนไทยหลัง CG-ROSC: ทิศทางในอนาคต
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
II-9 การทำงานกับชุมชน.
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติ
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
การโคลนและศึกษาคุณสมบัติของยีน OsDFR ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์แอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิดินในข้าวไทย นางสาวกนกภรณ์ คำโมนะ.
การแบ่งส่วนการตลาด (Market Segmentation)
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
บทที่ 11 การจำลองเหตุการณ์ โดยโปรแกรม Scratch Part II
Mission of OSTC Brussels
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
SBAR.
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสซึม อาจารย์ ดร
OXIDATIVE PHOSPHORYLATION
การประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
กลไกการเกิดสปีชีสใหม่
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
ประชากร.
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย นายแพทย์ ชัยยุทธ เจริญธรรม หน่วยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การแบ่งระยะมะเร็งเต้านม I III IV II การแบ่งระยะมะเร็งเต้านม

มะเร็งแพร่กระจาย คือ อะไร มะเร็งแพร่กระจาย หมายถึง มะเร็งที่ได้แพร่ไปที่อวัยวะอื่นของร่างกาย จากจุดเริ่มต้นที่อวัยวะแรกที่เป็นมะเร็ง มะเร็งแพร่กระจาย อาจเป็นโรคมะเร็งที่กลับเป็นซ้ำของคนที่เคยได้รักษาโรคมะเร็งได้หายขาดมาก่อน อาจเกิดขึ้นหลังจากที่ได้รักษาโรคมะเร็งครั้งแรก ไปแล้วหลายหลายเดือน หรือ หลายปีไปแล้ว มะเร็งแพร่กระจาย อาจเกิดขึ้นพร้อมไปกับการพบว่าเป็นโรคมะเร็งครั้งแรกเลยก็ได้

มะเร็งกลับเป็นซ้ำ และหรือ แพร่กระจาย เกิดขึ้นได้อย่างไร การรักษาโรคมะเร็งที่เป็นครั้งแรกได้เอาก้อนมะเร็งออกไปจากร่างกาย บางคนที่เป็นโรคมะเร็ง เซลล์มะเร็งที่เกิดขึ้นสามารถเล็ดลอดและไม่ถูกทำลายจากการรักษา เซลล์มะเร็งที่หลงเหลืออาจหลุดแพร่กระจายไปตามท่อน้ำเหลือง หรือ กระแสเลือด ไปที่อวัยวะอื่นและหลบอยู่ในร่างกายที่ไม่ถูกทำลายและเพิ่มจำนวนเป็นก้อนใหม่ที่อวัยวะอื่นในเวลาหลายปีต่อมา

โรคมะเร็ง (เต้านม) เป็นซ้ำที่ไหนได้บ้าง ที่เดิม ที่บริเวณใกล้เคียงตำแหน่งเดิม ที่อวัยวะอื่น (แพร่กระจาย)

โรคมะเร็ง (เต้านม) เป็นซ้ำที่ไหนได้บ้าง ที่เดิม ในเต้านมเดิมที่เหลือจากการผ่าตัด ผนังทรวงอกเดิมที่ผ่าตัดเต้านมออกไป ที่บริเวณใกล้เคียงตำแหน่งเดิม ที่อวัยวะอื่น (แพร่กระจาย)

โรคมะเร็ง (เต้านม) เป็นซ้ำที่ไหนได้บ้าง ที่เดิม ที่บริเวณใกล้เคียงตำแหน่งเดิม ต่อมน้ำเหลือง ใต้รักแร้ ต่อมน้ำเหลืองที่ ต้นคอ หรือ ที่เหนือกระดูกไหปลาร้า ที่อวัยวะอื่น (แพร่กระจาย)

โรคมะเร็ง (เต้านม) เป็นซ้ำที่ไหนได้บ้าง ที่เดิม ที่บริเวณใกล้เคียงตำแหน่งเดิม ที่อวัยวะอื่น (แพร่กระจาย) กระดูก ปอด ตับ สมอง

อาการโรคมะเร็ง (เต้านม) ที่เป็นซ้ำ ที่เดิม ในเต้านมเดิมที่เหลือจากการผ่าตัด คลำได้ก้อน แผล ผื่น บวมแดง ผนังทรวงอกเดิมที่ผ่าตัดเต้านมออกไป ก้อน แผล ผื่น ที่บริเวณใกล้เคียงตำแหน่งเดิม ที่อวัยวะอื่น (แพร่กระจาย)

โรคมะเร็ง (เต้านม) เป็นซ้ำที่ไหนได้บ้าง ที่เดิม ที่บริเวณใกล้เคียงตำแหน่งเดิม คลำพบต่อมน้ำเหลือง ใต้รักแร้ คลำพบต่อมน้ำเหลืองที่ ต้นคอ หรือ ที่เหนือกระดูกไหปลาร้า ที่อวัยวะอื่น (แพร่กระจาย)

โรคมะเร็ง (เต้านม) เป็นซ้ำที่ไหนได้บ้าง ที่เดิม ที่บริเวณใกล้เคียงตำแหน่งเดิม ที่อวัยวะอื่น (แพร่กระจาย) กระดูก ปอด ตับ สมอง

อาการของโรคมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจาย คนที่มีโรคมะเร็งแพร่กระจายบางคนไม่มีอาการ อาการผิดปรกติที่เกิดกับคนที่เคยเป็นมะเร็งมาก่อน ไม่ได้เกิดจากโรคมะเร็งที่กำเริบเสมอไป อาการผิดปรกติจากโรคมะเร็งแพร่กระจายมีได้หลายอย่าง และ มีความรุนแรงแตกต่างกัน ขึ้นกับตำแหน่งที่พบโรคและความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น อาการปวด ≠ โรคมะเร็งกำเริบ

อาการของโรคมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจาย อาการของโรคมะเร็งแพร่กระจายไม่มีลักษณะจำเพาะ คนที่สบายดีที่เคยเป็นมะเร็งมาแล้ว ยังต้องมาตรวจเป็นระยะ

อาการของโรคมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจาย อวัยวะที่มักพบมะเร็งแพร่กระจาย กระดูก ปวดกระดูก กระดูกหัก อาการทางเส้นประสาทถูกกดทับจากกระดูก ปอด ตับ สมอง

อาการของโรคมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจาย อวัยวะที่มักพบมะเร็งแพร่กระจาย กระดูก ปอด ไอเรื้อรัง เสียงแหบ หอบเหนื่อย ตับ สมอง

อาการของโรคมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจาย อวัยวะที่มักพบมะเร็งแพร่กระจาย กระดูก ปอด ตับ อาการไม่ค่อยจำเพาะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร แน่นท้อง ก้อนที่ท้อง ท้องมาน ตัวเหลือง ตาเหลือง สมอง

อาการของโรคมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจาย อวัยวะที่มักพบมะเร็งแพร่กระจาย กระดูก ปอด ตับ สมอง ชา ร่างกายเป็นซีก อ่อนแรง แขน และหรือ ขา ชัก อัมพาต ปวดหัว ความจำเสื่อม สับสน ซึม เดินเซ ทรงตัวไม่ดี พุดไม่ชัด

อาการของโรคมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจาย อาการผิดปรกติอื่นๆ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ไข้

การตรวจเพื่อยืนยันว่าเป็นมะเร็งแพร่กระจาย ขึ้นกับตำแหน่ง และ อาการผิดปรกติ ตรวจร่างกายพบก้อน อาจตัดมาตรวจ ตรวจเลือด ตรวจเอกซเรย์ภาพถ่าย อัลตราซาวด์ สแกนต่างๆ

การตรวจเพื่อยืนยันว่าเป็นมะเร็งแพร่กระจาย คนที่เคยเป็นมะเร็งและรู้สึกเองว่าสบายดี มาพบแพทย์ตามนัด คนที่เคยเป็นมะเร็งและตรวจพบว่าสบายดี ได้ประโยชน์น้อยมากที่จะตรวจหาโรคแพร่กระจายด้วยวิธีการอื่นๆอีก