งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
คำสั่ง ศตส. ที่ 44/2547 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2547 เสนอโดย นายธงชัย ขิมมากทอง นอ ๗๒.๕๔๔๒

2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษากระบวนการในการดำเนินงานการจัดระบบเฝ้า ระวังยาเสพติดที่ สามารถตรวจสอบและยืนยันสภาพ ปัญหายาเสพติดในแต่ละห้วงเวลาที่ตรงกับสภาพ ข้อเท็จจริง เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจแก่ ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพ ติดจังหวัดพิจิตร เพื่อศึกษาปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุนในการจัดระบบเฝ้าระวัง ยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัด เพื่อศึกษาถึงปัจจัย เงื่อนไขต่อความสำเร็จในการ จัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด ในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่งเสริม สนับสนุน และการจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัด

3 กรอบแนวคิดของ การศึกษา
การจัดระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด (DV) DV1 คณะทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดระดับจังหวัด (ทีมงาน) DV2 การตรวจสอบ ติดตาม ค้นหา สถานการณ์ยาเสพติด 2.1 การจัดเก็บข้อมูล 2.2 การรวบรวมข้อมูล 2.3 การประมวลผล 2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล DV3 การรายงานผลหรือการชี้สถานการณ์ DV4 การวางแผน การกำหนดมาตรการ และการประเมินผล ปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุน (IV) IV1 ปัจจัยหลัก 1.1 ระเบียบ กฎหมาย 1.2 นโยบายของส่วนกลาง จังหวัด 1.3 แผนงาน /ขั้นตอนการทำงาน 1.4 งบประมาณ 1.5 บุคลากร IV2 ปัจจัย/เงื่อนไขต่อความสำเร็จ 2.1 ยึดมั่นหลักคิด “ยาเสพติดเป็นภัยทำลายชาติ” ของคณะทำงาน 2.2 ความรู้ความสามารถ 2.3 แรงจูงใจ (ขวัญกำลังใจ)

4 สมมุติฐานและนิยามตัวแปร
วิธีวิจัย สมมุติฐานและนิยามตัวแปร การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด (DV) DV1 คณะทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดระดับจังหวัด (ทีมงาน) DV2 การตรวจสอบ ติดตาม ค้นหา สถานการณ์ยาเสพติด 2.1 การจัดเก็บข้อมูล 2.2 การรวบรวมข้อมูล 2.3 การประมวลผล 2.4 การวิเคราะห์ ข้อมูล DV3 การรายงานผล หรือการชี้สถานการณ์ DV4 การวางแผน การกำหนดมาตรการ และการประเมินผล ปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุน (IV) IV1 ปัจจัยหลัก 1.1 ระเบียบ กฎหมาย 1.2 นโยบายของส่วนกลาง จังหวัด 1.3 แผนงาน /ขั้นตอนการทำงาน 1.4 งบประมาณ 1.5 บุคลากร IV2 ปัจจัย/เงื่อนไขต่อความสำเร็จ 2.1 ยึดมั่นหลักคิด “ยาเสพติดเป็นภัยทำลาย ชาติ” ของคณะทำงาน 2.2 ความรู้ความสามารถ 2.3 แรงจูงใจ (ขวัญกำลังใจ)

5 วิธีวิจัย กลุ่มประชากรในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมใน ผู้ต้องโทษผู้ที่ถูกคุมขัง ผู้ถูกคุมประพฤติ ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา โดยใช้ข้อมูลในเดือนกันยายน 2555 จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบซักถามข้อมูลบุคคลที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่มีลักษณะเป็นการพูดคุย โดยใช้เจ้าหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน การวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลที่ได้จากการซักถามมาประมวลผลในคอมพิวเตอร์ ส่วนการวิเคราะห์เชิงพรรณนาเป็นการอธิบายสถานการณ์ยาเสพติดที่ต้องเฝ้าระวัง

6 ผลของการศึกษาวิเคราะห์
โครงสร้างคณะทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด (ทีมงาน)

7 วงรอบการจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด (DV)
(รอบเดือน)

8 ผลสรุปตามการศึกษา ค้นหาสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ในตัวยาหลัก 3 ชนิด คือ ยาบ้า สารระเหย และกัญชา ตามลำดับ การกระจายตัวยา ในเขตชุมชนเมือง เนื่องจาก เป็นศูนย์รวมของนักเรียนนักศึกษา ผู้ใช้แรงงาน สถานที่เสพ/จำหน่าย ใช้ หอพัก บ้านพัก หรือบ้านพักแบ่งเช่า ผู้ที่เกี่ยวข้องกับยา เสพติดเป็นผู้เสพหรือผู้ค้ารายย่อย ราคายาเสพติด (ยาบ้า) บาท พื้นที่ที่ต้องเฝ้าระวัง ได้แก่ หอพัก บ้านพัก หรือบ้านพักแบ่งเช่า ปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุน ส่งผลให้ระบบเฝ้าระวังเกิดขึ้นได้จริง เงื่อนไขความสำเร็จส่งผลให้ระบบเฝ้าระวังมีประสิทธิภาพ ความสัมพันธ์ ปัจจัยส่งเสริมสนับสนุนกับการจัดระบบเฝ้าระวังทุกขั้นตอน

9 ข้อเสนอแนะ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะในการจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่ จังหวัดพิจิตร ดังนี้ การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดควรดำเนินการในทุกจังหวัดและ ประสานข้อมูลระหว่างกัน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ควร ให้ความสำคัญกับข้อมูล การจัดระบบเฝ้าระวัง รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง การโยกย้ายของข้าราช ทำให้การจัดระบบเฝ้าระวังขาดความ ต่อเนื่องหรือขาดประสิทธิภาพ เห็นควรให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติด จัดระบบงานเฝ้าระวังเป็นภารกิจหลักที่ต้องดำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง นโยบายของรัฐบาลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดควร เป็นไปในแนวทางเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ไม่มุ่งเน้นการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ปัจจัย เงื่อนไขต่อความสำเร็จเป็นส่วนสำคัญที่จะขับเคลื่อนการ จัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด ให้สัมฤทธิ์ผลหรือไปสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฉะนั้น ทุก ฝ่ายควรให้ความสำคัญ เข้าใจและสนับสนุนในการทำงานของผู้ที่ รับผิดชอบ


ดาวน์โหลด ppt การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google