ประวัติและวิวัฒนาการของตัวอักษร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การออกแบบ Design.
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
Pro/Desktop.
กระบวนการของการอธิบาย
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ศาสนาคริสต์111
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (Computer-Aided Design)
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Visual Communication for Advertising Week2-4
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
Scene Design and Lighting Week1-3
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
World Time อาจารย์สอง Satit UP
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
ความหมายของเรียงความ
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
Visual Communication for Advertising Week10-12
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
หลุยส์ ปาสเตอร์.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
Visual Communication for Advertising Week7,9
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติและวิวัฒนาการของตัวอักษร

วิวัฒนาการของตัวเขียน แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตัวเขียนระบบภาพ (pictograph) คือ ตัวเขียนที่ใช้ภาพในการสื่อสาร เป็นระบบ ตัวเขียนที่เก่าแก่ที่สุด แต่มีข้อจำกัดในการสื่อ ความหมายได้เฉพาะสิ่งที่เป็นรูปธรรมและต้อง ใช้ทักษะการเขียนอีกด้วย ตัวเขียนระบบภาพที่ สำคัญ ได้แก่ ตัวเขียนรูปลิ่ม (cuneiform) ของ ชาวสุเมเรียน ตัวเขียนฮีโรกลิฟิก (hieroglyphic) ของชาวอียิปต์ และตัวเขียนเจียกู่เหวินของชาว จีน เป็นต้น

วิวัฒนาการของตัวเขียน แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตัวเขียนระบบภาพ (pictograph) คือ ตัวเขียนที่ใช้ภาพในการสื่อสาร เป็นระบบ ตัวเขียนที่เก่าแก่ที่สุด แต่มีข้อจำกัดในการสื่อ ความหมายได้เฉพาะสิ่งที่เป็นรูปธรรมและต้อง ใช้ทักษะการเขียนอีกด้วย ตัวเขียนระบบภาพที่ สำคัญ ได้แก่ ตัวเขียนรูปลิ่ม (cuneiform) ของ ชาวสุเมเรียน ตัวเขียนฮีโรกลิฟิก (hieroglyphic) ของชาวอียิปต์ และตัวเขียนเจียกู่เหวินของชาว จีน เป็นต้น

วิวัฒนาการของตัวเขียน แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตัวเขียนระบบภาพแสดงความคิด (ideograph) คือ ตัวเขียนระบบภาพที่มีลักษณะสื่อความ หมายถึงสิ่งที่เป็นนามธรรมได้ โดยอาศัยวิธีการ ต่างๆ ได้แก่ การเพิ่มเครื่องหมายต่างๆ เข้าไปใน ภาพเดิม การประสมภาพเดิมหลายๆ ภาพเข้า ด้วยกันแล้วให้ความหมายใหม่ และการสร้าง สัญลักษณ์ใหม่ที่มีความหมายเชิงนามธรรม เป็น ต้น

วิวัฒนาการของตัวเขียน แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตัวเขียนระบบภาพแสดงความคิด (ideograph) คือ ตัวเขียนระบบภาพที่มีลักษณะสื่อความ หมายถึงสิ่งที่เป็นนามธรรมได้ โดยอาศัยวิธีการ ต่างๆ ได้แก่ การเพิ่มเครื่องหมายต่างๆ เข้าไปใน ภาพเดิม การประสมภาพเดิมหลายๆ ภาพเข้า ด้วยกันแล้วให้ความหมายใหม่ และการสร้าง สัญลักษณ์ใหม่ที่มีความหมายเชิงนามธรรม เป็น ต้น

วิวัฒนาการของตัวเขียน แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตัวเขียนระบบสัญลักษณ์รูปคล้าย (logograph) คือ ระบบที่ดัดแปลงตัวเขียนระบบภาพและ ตัวเขียนระบบภาพแสดงความคิดมาเป็นภาพที่ คล้ายของจริง เขียนด้วยลายเส้นง่ายๆ ไม่มี รายละเอียดของภาพจึงทำให้มีลักษณะเป็น สัญลักษณ์มากขึ้น

วิวัฒนาการของตัวเขียน แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตัวเขียนระบบสัญลักษณ์แทนพยางค์ (syllabary) คือ ตัวเขียนระบบที่ใช้สัญลักษณ์แต่ละตัวแทน เสียงพยางค์หนึ่งพยางค์ เป็นการนำเอา สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคำๆ หนึ่งมาใช้กับคำอีกคำ หนึ่งที่มีเสียงเหมือนกันแต่มีความหมายต่างกัน ตัวเขียนที่พอจัดอยู่ในระบบนี้ เช่น ตัวเขียน ภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น

วิวัฒนาการของตัวเขียน แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตัวเขียนระบบแทนเสียงหรือตัวอักษร (alphabet) คือ ตัวเขียนระบบที่ใช้สัญลักษณ์แต่ละตัวแทน เสียงหนึ่งเสียง เป็นระบบที่มีความสมบูรณ์ใน การบันทึกภาษา และใช้สัญลักษณ์น้อยกว่าทุก ระบบที่กล่าวมาข้างต้น

ประวัติความเป็นมาของตัวเขียนอักษรโรมัน ตัวอักษรโรมันถือได้ว่าเป็นตัวอักษรที่ใช้กัน แพร่หลายที่สุดในโลก โดยเริ่มต้นจากชาวโรมัน ซึ่งเป็นชนเผ่าอิตาลิก (italic) ที่พูดภาษาละติน ได้ตั้งรกรากที่บริเวณหุบเขาตอนล่างของแม่น้ำ ไทเบอร์หรือที่ราบลาติอุม (latium) ในคาบสมุทร อิตาลี เมื่อโรมันเจริญรุ่งเรืองขึ้นจึงได้แผ่ขยาย อาณาเขตเข้าไปยึดครองกรีกกับอีทรัสกันไว้ โรมันได้รับเอาอักษรของกรีกมาพัฒนาเป็นอักษร โรมันหรืออักษรละตินขึ้น เมื่อราว ๗๐๐ ปีก่อน คริสตกาล ตัวอักษรโรมันในระยะแรกมีเฉพาะ อักษรตัวนำ (capital letter) ตัวอักษรมีรูปร่าง โค้ง ลายเส้นอักษรมีความหนาบาง มีเซอริฟ (Serif) เขียนติดต่อกันไปโดยไม่มีการเว้นช่องไฟ และไม่มีการใช้เครื่องหมายวรรคตอน square capitals (I) rustic (III) uncial (IV) half-uncial (V) visgothic (VI) beneventan (VII) humanist (VIII) cursiva (IX)

ประวัติความเป็นมาของตัวเขียนอักษรโรมัน ในขณะที่โลกตะวันออกเช่นจีนและเกาหลี ค้นพบวิธีการพิมพ์ใหม่ๆ ยุโรปยังไม่มีใคร ทราบข่าวนี้และการพิมพ์ในยุโรปเองก็ยังไม่มี “ยุคมืด” (dark age) ยุคมืดของยุโรปยาวนาน ถึง ๔๗๖ ปี ในยุคนี้ชาวยุโรปจำนวนน้อยนิดที่ รู้หนังสือหรืออ่านออกเขียนได้ นักการศึกษาและพระคริสเตียนจำนวนหนึ่ง ได้เริ่มฟื้นฟูหนังสือในยุโรปขึ้น โดยการกว้าน ซื้อหนังสือที่มีค่าเหล่านั้นมารวบรวมไว้ ได้ฝึก พระให้เป็นพระอาลักษณ์เพื่อจดและลอกคำ ต่อคำจากหนังสือ หนังสือที่พระอาลักษณ์ เขียนจะสวยงามมากที่เรียกว่า “หนังสือเลขา วิจิตร” (illumination) Book of Kells

ประวัติความเป็นมาของตัวพิมพ์อักษรโรมัน เมื่อการพิมพ์เผยแพร่ไปถึงยุโรปในปี ค.ศ. ๑๔๐๐ โดยเริ่มต้นจากการพิมพ์ไพ่ด้วย แม่พิมพ์บล็อกไม้ก่อน ต่อมาชาวเยอรมนีที่ชื่อ โยฮัน กูเต็นเบิร์ก (Johann Gutenberg) การพิมพ์แพร่หลายในอิตาลี สวิสเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส ฮอลแลนด์ เบลเยี่ยม สเปนและ อังกฤษ ซึ่งแต่ละประเทศก็คิดพิมพ์หนังสือ ของตนเองออกมา วิทยาการความรู้ทั้งหลายจึงแพร่กระจายสู่มือ สามัญชนอย่างมากมาย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ อย่างหนึ่งที่นำไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (renaissance) ในยุโรป Gutenberg Printing Press

ประวัติความเป็นมาของตัวพิมพ์อักษรโรมัน การออกแบบตัวอักษรโรมันในช่วงค.ศ.ที่ ๑๗- ๑๘ พัฒนาการทางการออกแบบตัวอักษรได้ ก้าวหน้าขึ้นอีกระดับหนึ่ง โดยได้อาศัยหลักการ ทางเรขาคณิต ตัวพิมพ์จึงมีโครงสร้างตัวอักษรที่ ได้มาตรฐานขึ้นเป็นครั้งแรก ตัวพิมพ์โรเมน ดู รอย (Romain du Roi) โดย (philippe grandijean) ในปี ค.ศ. ๑๖๙๒ ตัวพิมพ์บาสเกอร์วิลล์ (Baskerville) ของ จอห์นบาสเกอร์วิลล์ (john baskerville) ในปี ค.ศ. ๑๗๕๗

ประวัติความเป็นมาของตัวพิมพ์อักษรโรมัน ในอดีตก่อนที่จะมีการวัดขนาดตัวพิมพ์ด้วย ระบบหน่วยวัดแบบพอยต์นั้น ตัวพิมพ์อักษร โรมันจะใช้ชื่อเป็นตัวบ่งบอกให้ทราบถึงขนาด ของตัวพิมพ์ เช่น brevier, long primer, pica ค.ศ. ๑๗๓๗ นักออกแบบตัวพิมพ์ชาวฝรั่งเศส โฟร์เนียร์ (Pierre Simon Fournier le Jeune) ริเริ่มและคิดค้นการวัดขนาดตัวพิมพ์ด้วย ระบบหน่วยวัดแบบพอยต์ขึ้น จากนั้นในปี ค.ศ. ๑๗๗๐ นักออกแบบ ตัวพิมพ์ชาวฝรั่งเศส ฟรองซัวส์- แอมโบรส์ ดี โดต์ (Francois-Ambroise Didot) ได้คิด ปรับปรุงระบบพอยต์ขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง

ประวัติความเป็นมาของตัวพิมพ์อักษรโรมัน การออกแบบตัวอักษรโรมันในช่วงค.ศ.ที่ ๑๘ การออกแบบตัวอักษรได้พัฒนารูปแบบที่ ทันสมัยมากกว่าเดิม รวมทั้งการจัดเรียงอักษรที่ เน้นความเรียบง่าย สะอาด และมีเสน่ห์ เช่น ตัวพิมพ์ดิโดต์ โดยเฟอร์มิน ดิโดต์ (Fermin Didot) ในปี ค.ศ. ๑๗๘๔ ตัวอักษรโบโดนี่ โดยกิแอมแบททิสต้า โบโดนี่ (Giambattista Bodoni) ในปี ค.ศ. ๑๘๑๓

ประวัติความเป็นมาของตัวพิมพ์อักษรโรมัน การออกแบบตัวอักษรโรมันในช่วงระหว่าง ศตวรรษที่ ๑๙ จนถึงยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม (an industrial age) มีรูปแบบที่แปลกตาทะยอยออกมามากมาย ไม่ว่าจะเป็นแบบสามมิติ แบบเส้นกรอบรอบ นอกตัวอักษร แบบลายเส้นหนามาก (fat face) แบบไม่มีเชิง (san serif) เป็นต้น ตัวอักษรขนาดใหญ่ที่ทำจากไม้ (wood type) นอกจากนี้ มีการประดิษฐ์เครื่องเรียงพิมพ์อัตโนมัติขึ้นมา อีกด้วย

ประวัติความเป็นมาของตัวพิมพ์อักษรโรมัน การออกแบบตัวอักษรโรมันในช่วงระหว่าง ศตวรรษที่ ๑๙ จนถึงยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม (an industrial age) แนวร่วมศิลปะและหัตถกรรม (the arts and crafts movement) นำโดยวิลเลี่ยม มอริส (william morris) ศิลปะนูโวหรือนวศิลป์ (art nouveau) เกิดขึ้น ช่วงปี ค.ศ. ๑๘๙๐-๑๙๐๕ นำโดย เอลฟอน มูชา (alphonse mucha) และทูลูส โลเทรค (henri de toulouse-lautrec)

ประวัติความเป็นมาของตัวพิมพ์อักษรโรมัน การออกแบบตัวอักษรในศตวรรษที่ ๒๐ ในปี ค.ศ. ๑๙๑๖ เอ็ดเวิร์ด จอห์นสตัน (Edward Johnston) ออกแบบตัวอักษรเพื่อ ใช้ในกิจการของระบบรถไฟใต้ดินของกรุง ลอนดอน ในปี ค.ศ. ๑๙๓๑ สแตนลีย์ มอริสัน (Stanley Morison) ออกแบบตัวพิมพ์ที่ชื่อว่า ไทม์ นิว โรมัน (time new roman) เพื่อใช้สำหรับ หนังสือพิมพ์ไทม์ ประเทศอังกฤษ ปี ค.ศ. ๑๙๒๔ พอล เรนเนอร์ (paul renner) ได้ออกแบบตัวพิมพ์ตระกูล ฟิวจูร่า (futura) ที่ มีสมาชิกมากถึง ๑๕ ลักษณะขึ้นมา

ประวัติความเป็นมาของตัวเขียนอักษรไทย อักษรไทยมีพัฒนาการมาจากอักษรพราหมี ซึ่ง เป็นตัวอักษรอินเดียในพุทธศตวรรษที่ ๓ ต่อมา รูปอักษรได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นอักษรเทวนาครี กับอักษรคฤนถ์หรืออักษรปัลลวะในพุทธ ศตวรรษที่ ๙-๑๐ หลังจากนั้นตัวอักษรปัลลวะได้ แพร่เข้าสู่ดินแดนเอเชียอาคเนย์เมื่อราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๒ และได้คลี่คลายรูปสัณฐาน ออกเป็นอักษรขอมโบราณและอักษรมอญ โบราณ จนถึงรัชสมัยของพ่อขุนรามคำแหง มหาราช ทรงโปรดฯ ให้นักปราชญ์ราชบัณฑิต ปรับปรุงอักษรไทยเดิมให้เป็นระบบและมีรูป สัณฐานเดียวกันจนกลายเป็นลายสือไทยขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. ๑๘๒๖