วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพณิชยการสุโขทัย
Advertisements

การควบคุมวัตถุดิบสำหรับร้านอาหารโดยใช้ RFID ร่วมกับ Web Service
MK315 Marketing Information System Ch 5 Marketing Research system
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
Virtual Learning Environment
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
Knowledge Management Reform to Innovation in Higher Education for The World Sustainable Development.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กำหนดการเปิดใช้ ระบบทะเบียนและประมวลผล การศึกษา และระบบประเมินการศึกษา สถาบัน พระบรมราชชนก.
กิจกรรมที่ 3 คำถาม สเตฟาน เป็น ครูสอนคอมพิวเตอร์ ทำงานใน โรงเรียนบัวแก้ววิทยาลัย สเตฟาน ได้รับคำสั่ง จากผู้บริหาร ให้นำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน การทำงานด้านต่างๆ.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
WIND Work Improvement in Neighbourhood Development.
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
การออกแบบระบบ System Design.
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
การวิจัยในชั้นเรียน( Classroom Action Research)
งานสำนักงาน นางสมพร แผ่วจะโปะ โดย
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
ศิลปะการทำงานอย่างมีความสุข
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
การออกแบบแบบสอบถาม การสร้างเขตข้อมูลใหม่
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้โปรแกรมการออกกำลังกายต่ออาการเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็ง เม็ดเลือดขาวมัยอีลอยด์ชนิดเฉียบพลันที่รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยยาเคมีบำบัด.
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
NUR4238 ประเด็นและการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
Don Bosco Banpong Technological College
Don Bosco Banpong Technological College
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
พระพุทธศาสนา.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
อาจารย์ ศิริรัตน์ หวังดี
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
Animal Health Science ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2561
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
Introduction to Structured System Analysis and Design
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บเน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอนของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ The Development of Web-Based Instruction on practical skills use of the system work instructor of siam business administration nonthaburi technological college using the teaching skills of harrow นายนพรัตน์ วินิชาคม วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

รายละเอียด วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ สรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการดำเนินงานในองค์ต่างๆ งานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์เป็นงานที่มีความจำเป็น ซึ่งการนำระบบเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการงานซ่อมบำรุงจะทำให้งานมีประสิทธิภาพจะสามารถลดความเสียหาย และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นได้อย่างมาก วิทยาลัยฯได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการดำเนินกิจกรรมขององค์กรทั้งหมด ทั้งด้านการเรียนการสอนและด้านสารสนเทศ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ 2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการดำเนินงานในองค์ต่างๆ งานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์เป็นงานที่มีความจำเป็น ซึ่งการนำระบบเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการงานซ่อมบำรุงจะทำให้งานมีประสิทธิภาพจะสามารถลดความเสียหาย และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นได้อย่างมาก วิทยาลัยฯได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการดำเนินกิจกรรมขององค์กรทั้งหมด ทั้งด้านการเรียนการสอนและด้านสารสนเทศ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร คือ ครูอาจารย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ปีการศึกษา 2557 มีทั้งหมด 74 คน 2.กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูอาจารย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ปีการศึกษา 2557 ที่ได้จากตาราง กำหนดกลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอร์แกน ได้กำหนดจำนวนขั้นต่ำ 59 คน

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ 1. ทฤษฎี / หลักการ /แนวคิดของรูปแบบ 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ขั้นที่ 1 ขั้นการเลียนแบบ ขั้นที่ 2 ขั้นการลงมือกระทำตามคำสั่ง ขั้นที่ 3 ขั้นการกระทำที่ถูกต้องสมบูรณ์ (Precision) ขั้นที่ 4 ขั้นการแสดงออก (Articulation) 4. ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ ดังนั้นเพิ่มการเพิ่มสมรรถนะทางด้านบริหารจัดการ ผู้วิจัยจึงพัฒนาระบบเพื่อการจัดการงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ที่จะช่วยให้จัดการข้อมูลที่เป็นระบบ และช่วยจัดลำดับการบริการของงานซ่อมในการให้บริการ โดยใช้เทคนิคแบบอิงกฎเกณฑ์ (Rule Based) มาเป็นเครื่องมือในการช่วยพัฒนา โดยมีผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้กำหนดกฎ โดยจะมาเอกสารที่มีอยู่และจากผู้เชี่ยวชาญด้านแก้ปัญหา รวมทั้งการออกแบบเว็บไซต์ให้สามารถรองรับการทำงานบนหน้าจออุปกรณ์ต่างๆได้และสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีการดำเนินการวิจัย

ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ 1.ผลการประเมินผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาของบทเรียนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ 2. ผลการประเมินผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคของบทเรียนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 5 4.86 4.95 0.08 ดีมาก รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 4.4 4.2 3.6 4.07 0.42 ดี

ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ 3. รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 5 4.86 4.95 0.08 ดีมาก รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 4.4 4.2 3.6 4.07 0.42 ดี

ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ระบบงานผู้สอน ที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ กลุ่มตัวอย่าง จำนวนผู้ทำแบบทดสอบ (คน) คะแนน รวม 𝐗 คะแนนก่อนเรียน (Pretest) 59 1112.22 18.85 คะแนนหลังเรียน (Posttest) 1774.89 30.08 Z-test = 1.64 Z-table = 0.495

ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ แบบสอบถามความพึงพอใจ 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ แบบสอบถามความพึงพอใจ 𝐗 𝐒.𝐃. ระดับความพึงพอใจ โดยรวม 4.72 0.48 มากที่สุด

สรุปผล และ ข้อเสนอแนะ สรุปผล :จากการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บเน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1.ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน ที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บเน้นทักษะการปฏิบัติงาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ สรุปได้ว่า คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน 2.ผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ สรุปได้ว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

สรุปผล และ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ : 1. ข้อเสนอแนะก่อนการนำไปใช้ บทเรียนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น เป็นสื่อช่วยสอนหรือสื่อประกอบการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่ช่วยในการเรียนการสอนดำเนินไปด้วยความสะดวกขึ้น ดังนั้น จึงควรใช้สื่อนี้ประกอบการอบรม เพื่อให้ผู้เรียนรู้มีความเข้าใจยิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรสนับสนุนให้มีการผลิตสื่อการเรียนการสอน และพัฒนาบทเรียนการสอนผ่านเว็บในเรื่องอื่นๆ เช่น ระบบงานฝ่ายพัฒนาผู้เรียน-รูดบัตร