งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ วิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ เรื่อง กระดาษทำการ 10 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ

2 วัตถุประสงค์ในการวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อชุดฝึกปฏิบัติ

3 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ชุดฝึกปฏิบัติ เรื่อง กระดาษทำการ 10ช่อง ตัวแปรตาม - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ความพึงพอใจ

4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ จำนวน 10 คน ที่มีผลการเรียนวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญต่ำกว่าเกณฑ์

5 ผลการวิเคราะห์ ตาราง1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่3โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ แบบฝึก คะแนน จำนวนนักศึกษา ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน t-test p เสริมทักษะ ทดสอบ (N) ( x ) มาตรฐาน (S.D.) ก่อนเรียน หลังเรียน * * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

6 ผลการวิเคราะห์ (ต่อ) ตาราง 2 จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจต่อชุดฝึกปฏิบัติ ที่ รายการประเมิน 5 4 3 2 1 S.D. อธิบายเนื้อหาเข้าใจง่าย 7 (70.0%) (30.0%) - 4.70 0.83 เนื้อหาสอดคล้องกับบทเรียน (50.0%) 4.50 0.53 ความยาก-ง่ายของการทำกระดาษทำการ 10 ช่อง 0.48 ขั้นตอนการทำกระดาษทำการ ช่อง ไม่ซับซ้อน 6 60.0%) (40.0%) 4.60 0.52 ประโยชน์จากการทำกระดาษ ทำการ 10 ช่อง (60.0%) ความสมบูรณ์ของการทำกระดาษทำการ 10 ช่อง ความพึงพอใจในภาพรวมของการทำกระดาษทำการ 10 ช่อง 8 (80.0%) (20.0%) 4.80 0.42

7 สรุปผลการวิจัย 1. จากการใช้ชุดฝึกปฏิบัติ มีคะแนนก่อนเรียนซึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน นักศึกษา ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ9.10 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.079และจากการใช้ชุดฝึก ปฏิบัติ คะแนนหลังเรียน ซึ่งมีคะแนนเต็ม 20คะแนน นักศึกษาได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ1.476ความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลัง เรียน มีค่า t-test เท่ากับ และค่า Sig. เท่ากับ .000 พบว่า คะแนนหลังเรียนสูงกว่า คะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05แสดงว่า จากการสอนโดยใช้ชุดฝึก ปฏิบัติทำให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น 2. การสำรวจความพึงพอใจต่อชุดฝึกปฏิบัติทางการเรียนวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมและ ระบบใบสำคัญเรื่อง กระดาษทำการ10ช่องของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประจำปีการศึกษา2557พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความพึงพอใจในภาพรวมของ กระดาษทำการ 10 ช่อง อยู่ในระดับมากที่สุดรองลงมาคือ ความยาก-ง่ายของการทำกระดาษ ทำการ 10 ช่อง และความสมบูรณ์ของการทำกระดาษทำการ10 ช่อง อยู่ในระดับมากที่สุด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ เนื้อหาสอดคล้องกับบทเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด ตามลำดับ

8 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ วิชาการบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญในทุก สาขาวิชา เพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ให้เกิดกับตัวผู้เรียน 2. ควรนำชุดฝึกเสริมทักษะไปเปรียบเทียบวิธีการสอนแบบต่างๆ ซึ่งจะส่งผลดีต่อผู้สอนใน ด้านการคิดค้นหาวิธีการผลิตสื่อการสอนที่เหมาะสมต่อการสอบแบบต่างๆ กัน จะทำให้ อาจารย์จะสามารถบูรณาการวิธีการสอนแบบต่าง ๆ ให้เข้ากับเนื้อหาของบทเรียนในที่สุด เพราะเนื้อหาในแต่ละบท อาจไม่สามารถสอนโดยวิธีการสอนเพียงอย่างเดียว หากแต่ อาจารย์ผู้สอนจะต้องประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์และผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. ควรมีการศึกษาและนำแบบฝึกเสริมทักษะที่วิจัยสร้างขึ้น ไปทดลองเปรียบเทียบกับการ สอนตามปกติ 4. ควรมีการวิจัยถึงรูปแบบการสอนโดยวิธีต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับการพัฒนาทักษะและเจต คติที่ดีต่อวิชาชีพบัญชี 5. ควรนำรูปแบบการวิจัยในครั้งนี้ไปใช้กับเนื้อหาในวิชาอื่นๆ และระดับชั้นอื่นๆ ต่อไปอีก


ดาวน์โหลด ppt นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google