งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
ผู้วิจัย นางอรัญญา ไชยศร ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายแผนและประกัน คุณภาพการศึกษา วุฒิการศึกษา บธ.ม.บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ Southern Technological College

2 Southern Technological College
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาการเรียนรู้เรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ วิชาโปรแกรมตารางคำนวณโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้(เอส.เทค.) Southern Technological College

3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1 เพื่อสร้างแบบฝึกเสริมทักษะวิชาโปรแกรมตารางคำนวณเรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.)ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางคำนวณ เรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณของนักเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาโปรแกรมตารางคำนวณเรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ Southern Technological College

4 Southern Technological College
กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ แบบฝึกเสริมทักษะ ตัวแปรตาม - ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ - ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ Southern Technological College

5 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี จำนวน 25 คน ของวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.) ปีการศึกษา 2559 ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี จำนวน 15 คน ของวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.) ปีการศึกษา จากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) กลุ่มตัวอย่าง Southern Technological College

6 ตัวอย่างแบบฝึกเสริมทักษะ
Southern Technological College

7 แบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) แบบทดสอบหลังเรียน (E2)
ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ รายการทดสอบ จำนวนนักเรียน คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ แบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) 15 20 15.03 75.11 แบบทดสอบหลังเรียน (E2) 11.67 77.78 ค่าประสิทธิภาพ(E1/E2 ) /77.78 Southern Technological College

8 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ
รายการ จำนวน นักเรียน คะแนนเต็ม X S.D. t Sig (2 tailed) ก่อนใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 15 9.73 0.799 16.358* .000 หลังใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 11.67 0.488 * มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 Southern Technological College

9 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ
X S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. เนื้อหาของแบบฝึกเรียงลำดับจากง่ายไปหายาก 4.80 0.42 มากที่สุด 2. แบบฝึกเสริมทักษะน่าสนใจมีหลากหลายรูปแบบ 4.60 0.52 3. เนื้อหาของแบบฝึกมีความชัดเจนทุกแบบฝึก 4. คำสั่งการทำกิจกรรมในแบบฝึกชัดเจนเข้าใจง่าย 4.70 0.48 5. เนื้อหาและกิจกรรมในแบบฝึกมีความครอบคลุมและสอดคล้อง กับกิจกรรมการเรียนการสอน 6. กิจกรรมในแบบฝึกสอดคล้องเหมาะสมกับเนื้อหาที่สอน 4.40 มาก 7. เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.20 0.79 8. กิจกรรมในแต่ละแบบฝึกน่าสนใจมีความยากง่ายพอเหมาะ 4.90 0.32 9. ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน การสอนและเน้นการ ปฏิบัติจริง และเรียนรู้อย่างมีความสุข 10. ประโยชน์ของการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 5.00 0.00 รวม 4.65 0.22 Southern Technological College

10 ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ
สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 75.11/77.78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ 75/ 75 แสดงว่าแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ มีประสิทธิภาพ Southern Technological College

11 สรุปผลการวิจัย (ต่อ) สูงกว่า Southern Technological College
ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ หลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ ( X = S.D. =0.488) ก่อนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ ( X =9.73 S.D. =0.799) สูงกว่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t-test =16.358*) Southern Technological College

12 Southern Technological College
สรุปผลการวิจัย (ต่อ) นักเรียน มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( X =4.65 S.D. =0.22) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ Southern Technological College

13 ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้
1 การเลือกเนื้อหาที่นำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญอย่างมากควรคำนึงถึงความเหมาะสมของ เพศ วัย และระดับความสามารถในการเรียนของผู้เรียนด้วย หากเนื้อหาใดที่ผู้เรียนสนใจผู้เรียนก็จะเกิดความกระตือรือร้นการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น 2 ในระหว่างการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ครูผู้สอนควรสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนที่มีความสามารถในการเรียนรู้ต่ำ อาจจะไม่เข้าใจหรือเกิดการเรียนรู้ช้าหรือต้องการความช่วยเหลือ ครูผู้สอนควรใช้เทคนิคเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนสนใจ หรืออธิบายให้เข้าใจชัดเจนอีกครั้งหนึ่ง 3 ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ควรใช้เวลาในการเรียนรู้การใช้แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณให้มากขึ้นเพื่อนักเรียนจะได้มีโอกาสฝึกฝนทักษะบ่อย ๆ จนเกิดความชำนาญ Southern Technological College

14 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
ควรมีการทดลองเปรียบเทียบวิธีการเรียนรู้ วิชาโปรแกรมตารางคำนวณเรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณด้วยแบบฝึกเสริมทักษะกับวิธีการเรียนรู้ในรูปแบบอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจ เลือกวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหาและความพร้อมของนักเรียน Southern Technological College


ดาวน์โหลด ppt ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google