“การปฏิบัติหน้าที่อย่างครูมืออาชีพ” “ครูมืออาชีพ” “อาชีพครู” “ครูประทังชีพ”
งานที่มีเกียรติ และเป็นงานสร้างคนให้กับสังคม “…อาชีพครูถือว่าสำคัญอย่างยิ่ง เพราะครูมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศให้ เจริญมั่นคง และก่อนที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญได้นั้น จะต้องพัฒนาคนซึ่ง ได้แก่ เยาวชนของชาติเสียก่อน เพื่อให้เยาวชนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณค่าสมบูรณ์ ทุกด้าน จึงสามารถช่วยกันสร้างความเจริญให้แก่ชาติต่อไปได้…”
ครู (คุรุ / ครุ หรือคุรุ คะ – รุ = หนัก
ครู/คุรุ /กูรู (Guru) = ครู หรือ อาจารย์ คุ = แสงสว่าง /รุ = ความมืดมน
ผู้แสวงหาความรู้ ผู้มีเมตตา (ไม่ขี้เกียจ / ปิดบัง / เบียดเบียน) ครู คือ ผู้เติมเต็ม ผู้แสวงหาความรู้ ผู้มีเมตตา (ไม่ขี้เกียจ / ปิดบัง / เบียดเบียน)
ครู คือ ปูชนียบุคคล ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ ครู คือ ผู้แจวเรือจ้าง
ครู คือ ผู้ทำหน้าที่สอนให้ศิษย์เกิดความรู้ และมีคุณธรรม จริยธรรมที่ดี ทำประโยชน์ให้แก่สังคมได้ในอนาคต
ทัศนะตะวันตก / ทัศนะไทย ครู กับ อาจารย์ ทัศนะตะวันตก / ทัศนะไทย
อุปัชฌาย์ ทิศาปาโมข์ บุรพาจารย์ หรือ บูรพาจารย์ ปรมาจารย์ ปาจารย์
Teacher Instructor Professor - Assistant Professor (ผศ.) - Associate Professor (รศ.) - Professor (ศ.) Lecturer Tutor Sophist
ครู/ปู่ครู / ตุ๊ครู / ครูบา
ครู บุคคลไตรภาคี 1. ความรู้ดี 2. ความประพฤติดี 3 ครู บุคคลไตรภาคี 1. ความรู้ดี 2. ความประพฤติดี 3. มีคุณธรรม (เมตากรุณา) พัฒนา ถึงขั้นสูงสุด ยอดครู/บรมครู
C- teacher 8’C (ปัจจุบันอนาคต) 1. Content 2. Computor (ICT) Integration 3. Constructionist (Active Learning) 4. Connectivity (PLC) 5. Collaboration 6. Communication 7. Creativity 8. Caring
Teacher T = Teaching and Training การสั่งสอนและการฝึกฝนวิทยาการ E = Ethies Tnstruction การอบรมคุณธรรมและจริยธรรม A = Action Research การวิจัยและการศึกษาค้นคว้า C = Cultural Heritage ถ่ายทอดวัฒนธรรม H = Human Relationship การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ E = Extra Jobs การปฏิบัติงานพิเศษต่างๆ R = Reporting and Counseling การรายงานผลนักเรียนและการแนะแนว S = student Activities การจัดกิจกรรมนักเรียน