การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กฎหมายพาณิชย์
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่องวิจัย : การพัฒนาศักยภาพทางความคิดในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ปวส.2 แผนกเคมีอุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2555 ชื่อผู้วิจัย : นางสาวปัทมาวรรณ แสวงผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.
นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม โดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย... นางสาวยุพารัตน์ โชคทวีกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม โดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น การจัดการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่อง โมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชา อุตสาหกรรมโดยวิธีการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่อง โมเมนต์ สำหรับนักศึกษา ชั้น ปวส.1 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 122 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/21 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชา เครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 32 คน ได้มาด้วยการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม

สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1. ศึกษาคุณภาพของแบบทดสอบโดยการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่นด้วยเทคนิค 27 เปอร์เซ็นต์ ของ จุง เตห์ ฟาน ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ EVANA 2. วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม โดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ซึ่งใช้สถิติทดสอบที (t – test) แบบกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กันด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตาราง แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม โดยวิธีการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 t (.05, df = 31) = 1.70

สรุปผลการวิจัย จากการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม โดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนโดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 3.12 ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนโดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน มีค่าเฉลี่ย 13.44 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่า 2.56

สรุปผลการวิจัย และเมื่อทดสอบความแตกต่างของคะแนนการทำแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม โดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย ค่า ที่คำนวณได้มีค่า 20.88 มากกว่าค่า ที่ได้จากการเปิดตารางซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.70 ( คำนวณ > ตาราง)

สรุปผลการวิจัย แสดงว่าภายหลังการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ สำหรับนักศึกษาชั้น ปวส.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม โดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนแล้ว นักศึกษาสามารถทำคะแนนทดสอบสูงขึ้นกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนด้วยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เรื่องโมเมนต์ โดยวิธีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ข้อเสนอแนะ 1. ครูควรนำวิธีการพัฒนานี้ไปใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนในบทเรียนอื่น 2. ควรสร้างและศึกษาวิธีการพัฒนารูปแบบการจัด การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ ให้ทันยุคทันสมัยมากขึ้น

ขอบคุณค่ะ