การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 6 งบประมาณ.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
1.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
อ.พิมพ์ผกา วงศ์กองแก้ว
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Accounting Principles
บทที่ 7 งบประมาณ.
บทที่ 5 การประมวลผลรายการค้า
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
วัฏจักรทางการบัญชีและการวิเคราะห์รายการค้า
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ขั้นที่ 3 การเตรียมการจ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการ กระบวนการเตรียมจ่ายชำระค่าสินค้า โดยเริ่มจากการนำใบแจ้งหนี้หรือใบกำกับสินค้าที่ได้รับจากบริษัทผู้ขายมาตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลในใบรับสินค้าและใบส่งสินค้าที่ได้รับจากฝ่ายคลังสินค้า.
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
คำแนะนำ ฯ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
สินค้าคงเหลือ-การวัดมูลค่าวิธีอื่น
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
บทที่ 1 วิวัฒนาการของรายงานทางการเงิน
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
กระดาษทำการและการปิดบัญชี
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สรุปวิธีการบันทึกค่าเสื่อมราคาสำหรับปีงบประมาณ 2549
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 2 งบการเงิน ความหมายของงบการเงิน
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด

การเปลี่ยนแปลงประมานการทางบัญชี กิจการต้องใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป หมายถึง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและผู้รับรู้ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางการบัญชีโดยที่เป็นการ 1. ใช้นโยบายการบัญชีใหม่สำหรับรายการค้า เหตุการณ์อื่นและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 2. รับรู้ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีในงวดปัจจุบันและงวดอนาคตที่ได้รับจากการเปลี่ยนแปลง

สูตรการคำนวณค่าเสื่อมราคาด้วยวิธีเส้นตรง ตัวอย่าง กิจการซื้อเครื่องจักราคาทุน 200,000 บาท เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25x1 คาดว่าจะใช้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจได้ 10 ปี ไม่มีมูลค่าคงเหลือ นโยบายทางการบัญชีให้คิดคำนวณค่าเลื่อมราคาด้วยวิธีเส้นตรง ในช่วงเวลาของการใช้เครื่องจักร กิจการมีการดูแลบำรุงรักษาเป็นอย่างดี ทำให้กิจการได้รับประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอีก 5 ปี จากการสำรวจดังกล่าวเกิดขึ้นในปี 25x6 ให้บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร สำหรับปี 25x1-25x7 สูตรการคำนวณค่าเสื่อมราคาด้วยวิธีเส้นตรง ค่าเสื่อมราคา = ราคาทุนของสินทรัพย์ − มูลค่าคงเหลือ ระยะเวลาที่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ = 200,000−0 10 = 20,000 บาท/ปี

บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x1 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x1 25x2 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x2 25x3 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x3 25x4 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x4

25x5 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x5 เมื่อต้นปี 25x6 กิจการทำการสำรวจเครื่องจักร เนื่องจากกิจการมีการบำรุงดูแลรักษาเครื่องจักรเป็นอย่างดี ทำให้ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอีก 5 ปี ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี กิจการต้องใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป ณ วันที่ 1 มกราคม 25x6 เครื่องจักรมี100,000 บาท ค่าเสื่อมราคา = ราคาทุนของสินทรัพย์ − มูลค่าคงเหลือ ระยะเวลาที่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ = 100,000−0 10 = 10,000 บาท/ปี

25x6 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 10,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 10,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x6 25x7 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 10,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 10,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x7

นโยบายการบัญชี ( Accounting Policies ) หลักการ วิธีปฏิบัติ ประเพณีปฏิบัติ หลักเกณฑ์ กฎ

การเปลี่ยนแปลงประมา ณการ วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป การปรับงบการเงินย้อนหลัง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

หลักการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ( Change in Accounting Policies ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีที่ใช้อย่างหนึ่งในงวดบัญชีหนึ่ง ไปใช้นโยบายการบัญชีอีกอย่างหนึ่งในอีกงวดบัญชีหนึ่ง ตัวอย่างเช่น งวดบัญชีก่อนปี 25x1 กิจการวัดมูลค่าคงเหลือของสินค้าด้วยวิธี FIFO แต่งวดบัญชีปีปัจจุบัน ปี 25x2 กิจการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

ตัวอย่าง บริษัท คลื่นชีวิต จำกัด ตรวจนับสินค้าคงเหลือ และวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือโดยวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน ต่อมาในปี 2560 บริษัทตัดสินใจเปลี่ยนนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบัญชีมูลค่าสินค้าคงเหลือไปเป็นวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ข้อมูลของสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม สำหรับปี 2559 และปี 2560 มีดังนี้ วิธีการวัดมูลค่า 31 ธ.ค. 2559 31 ธ.ค. 2560 เข้าก่อนออกก่อน (FIFO) 1,000,000 1,200,000 ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (WA) 800,000 950,000 ผลต่างที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย 200,000 250,000

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กิจการต้องปรับงบการเงินย้อนหลังสำหรับการเปลี่ยนแปลงนโยบาย โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในที่นี้ ได้แก่ บัญชีสินค้าคงเหลือต้นงวด 2560 2. ผลสะสมของการปิดบัญชีในงวดปี 2559 เกี่ยวกับบัญชีกำไรสะสมต้นงวด 2560 และถ้ามีเรื่องของภาษีเงินได้เข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องปรับปรุงภาษีเงินได้ด้วย โดย Dr. กำไรสะสม 1 ม.ค. 2560 ( 200,000x 70% ) 140,000.- Dr. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี( 200,000x30%) 60,000.- Cr. สินค้าคงเหลือต้นงวด ( 1 ม.ค. 2560 ) 200,000.-

ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ดังกล่าว กิจการต้องปรับงบการเงินย้อนหลังสำหรับการเปลี่ยนแปลงนโยบายนั้น โดยมีขั้นตอนดังนี้   ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนซื้อขาย : 2560 2559 สินค้าคงเหลือต้นงวด 800,000 บวก ซื้อสุทธิ 2,200,000 2,000,000 สินค้าคงเหลือที่มีไว้เพื่อขาย 3,000,000 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 950,000 ต้นทุนขาย 2,050,000 1,200,000

การแก้ไขข้อผิดพลาด เมื่อมีข้อผิดพลาดอาจส่งผลกระทบต่องบการเงินในกรณีที่งบการเงินได้รับผลกระทบ มีดังนี้ 1. ข้อผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่องบแสดงฐานะการเงินเพียงงบเดียว Ex. กิจการได้รับแคชเชียร์เช็คจากลูกหนี้การค้า จำนวน 10,000 บาท พนักงานบันทึกรายการโดย Dr. เงินฝากธนาคาร 10,000.- Cr. ลูกหนี้การค้า 10,000.- ต่อมาผู้จัดการฝ่ายบัญชีตรวจพบข้อผิดพลาดหลังจากนำแคชเชียร์เช็คไปฝากธนาคารแล้วดังนั้น ไม่ต้องทำการปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด

_________________________________________ 2. ข้อผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่องบกำไรขาดทุนเพียงงบเดียว Ex. กิจการบันทึกค่าน้ำเป็นค่าโทรศัพท์จำนวน 10,000 บาท พนักงานบัญชีบันทึกรายการโดย Dr. ค่าโทรศัพท์ 10,000.- Cr. เงินสด 10,000.- _________________________________________ ต่อมาผู้จัดการฝ่ายบัญชีตรวจพบข้อผิดพลาดก่อนปิดบัญชี ดังนั้น บันทึกแก้ไขข้อผิดพลาด โดย Dr. ค่าน้ำ 10,000.- Cr. ค่าโทรศัพท์ 10,000.- แต่ถ้าผู้จัดการฝ่ายบัญชีตรวจพบข้อผิดพลาดหลังปิดบัญชี ดังนั้นไม่ต้องทำการปรับปรุงรายการ เพียงแค่หมายเหตุไว้

3. ข้อผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่องบกำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงิน Ex. กิจการไม่ได้บันทึกค่าเช่าค้างจ่ายสำหรับ ไตรมาสที่ 4 ของปี 2559 ในวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ประเด็นที่ต้องพิจารณา 1. ถ้าไม่ได้บันทึกส่งผลกระทบต่องบกำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าความเป็นจริงและหนี้สินต่ำกว่าความเป็นจริง 2. พบข้อผิดพลาดเมื่อใด

2.1) พบข้อผิดพลาดก่อนปิดบัญชี แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย 2559 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเช่า xxx Cr. ค่าเช่าค้างจ่าย xxx _________________________________________   2.2) พบข้อผิดพลาดหลังปิดบัญชีปี 2559 แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย ธ.ค. 31 Dr. กำไรขาดทุน xxx Cr. ค่าเช่าค้างจ่าย xxx ________________________________________

2.3) พบข้อผิดพลาดเมื่อต้นปี 2560 ช่วงไตรมาสที่ 1 2.3.1) กรณีพบแล้วแต่ยังไม่ชำระเงิน แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย 2560 ก.พ. 1 Dr. กำไรสะสม xxx Cr. ค่าเช่าค้างจ่าย xxx ________________________________________   2.3.2) กรณีที่ชำระเงินไปแล้ว แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย Cr. ค่าเช่า xxx

คณะผู้จัดทำ AC03