การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การเปลี่ยนแปลงประมานการทางบัญชี กิจการต้องใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป หมายถึง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและผู้รับรู้ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางการบัญชีโดยที่เป็นการ 1. ใช้นโยบายการบัญชีใหม่สำหรับรายการค้า เหตุการณ์อื่นและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 2. รับรู้ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีในงวดปัจจุบันและงวดอนาคตที่ได้รับจากการเปลี่ยนแปลง
สูตรการคำนวณค่าเสื่อมราคาด้วยวิธีเส้นตรง ตัวอย่าง กิจการซื้อเครื่องจักราคาทุน 200,000 บาท เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25x1 คาดว่าจะใช้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจได้ 10 ปี ไม่มีมูลค่าคงเหลือ นโยบายทางการบัญชีให้คิดคำนวณค่าเลื่อมราคาด้วยวิธีเส้นตรง ในช่วงเวลาของการใช้เครื่องจักร กิจการมีการดูแลบำรุงรักษาเป็นอย่างดี ทำให้กิจการได้รับประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอีก 5 ปี จากการสำรวจดังกล่าวเกิดขึ้นในปี 25x6 ให้บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร สำหรับปี 25x1-25x7 สูตรการคำนวณค่าเสื่อมราคาด้วยวิธีเส้นตรง ค่าเสื่อมราคา = ราคาทุนของสินทรัพย์ − มูลค่าคงเหลือ ระยะเวลาที่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ = 200,000−0 10 = 20,000 บาท/ปี
บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x1 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x1 25x2 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x2 25x3 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x3 25x4 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x4
25x5 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 20,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 20,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x5 เมื่อต้นปี 25x6 กิจการทำการสำรวจเครื่องจักร เนื่องจากกิจการมีการบำรุงดูแลรักษาเครื่องจักรเป็นอย่างดี ทำให้ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอีก 5 ปี ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี กิจการต้องใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป ณ วันที่ 1 มกราคม 25x6 เครื่องจักรมี100,000 บาท ค่าเสื่อมราคา = ราคาทุนของสินทรัพย์ − มูลค่าคงเหลือ ระยะเวลาที่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ = 100,000−0 10 = 10,000 บาท/ปี
25x6 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 10,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 10,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x6 25x7 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 10,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 10,000.- บันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรในปี 25x7
นโยบายการบัญชี ( Accounting Policies ) หลักการ วิธีปฏิบัติ ประเพณีปฏิบัติ หลักเกณฑ์ กฎ
การเปลี่ยนแปลงประมา ณการ วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป การปรับงบการเงินย้อนหลัง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
หลักการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ( Change in Accounting Policies ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีที่ใช้อย่างหนึ่งในงวดบัญชีหนึ่ง ไปใช้นโยบายการบัญชีอีกอย่างหนึ่งในอีกงวดบัญชีหนึ่ง ตัวอย่างเช่น งวดบัญชีก่อนปี 25x1 กิจการวัดมูลค่าคงเหลือของสินค้าด้วยวิธี FIFO แต่งวดบัญชีปีปัจจุบัน ปี 25x2 กิจการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
ตัวอย่าง บริษัท คลื่นชีวิต จำกัด ตรวจนับสินค้าคงเหลือ และวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือโดยวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน ต่อมาในปี 2560 บริษัทตัดสินใจเปลี่ยนนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบัญชีมูลค่าสินค้าคงเหลือไปเป็นวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ข้อมูลของสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม สำหรับปี 2559 และปี 2560 มีดังนี้ วิธีการวัดมูลค่า 31 ธ.ค. 2559 31 ธ.ค. 2560 เข้าก่อนออกก่อน (FIFO) 1,000,000 1,200,000 ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (WA) 800,000 950,000 ผลต่างที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย 200,000 250,000
การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กิจการต้องปรับงบการเงินย้อนหลังสำหรับการเปลี่ยนแปลงนโยบาย โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในที่นี้ ได้แก่ บัญชีสินค้าคงเหลือต้นงวด 2560 2. ผลสะสมของการปิดบัญชีในงวดปี 2559 เกี่ยวกับบัญชีกำไรสะสมต้นงวด 2560 และถ้ามีเรื่องของภาษีเงินได้เข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องปรับปรุงภาษีเงินได้ด้วย โดย Dr. กำไรสะสม 1 ม.ค. 2560 ( 200,000x 70% ) 140,000.- Dr. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี( 200,000x30%) 60,000.- Cr. สินค้าคงเหลือต้นงวด ( 1 ม.ค. 2560 ) 200,000.-
ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ดังกล่าว กิจการต้องปรับงบการเงินย้อนหลังสำหรับการเปลี่ยนแปลงนโยบายนั้น โดยมีขั้นตอนดังนี้ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนซื้อขาย : 2560 2559 สินค้าคงเหลือต้นงวด 800,000 บวก ซื้อสุทธิ 2,200,000 2,000,000 สินค้าคงเหลือที่มีไว้เพื่อขาย 3,000,000 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 950,000 ต้นทุนขาย 2,050,000 1,200,000
การแก้ไขข้อผิดพลาด เมื่อมีข้อผิดพลาดอาจส่งผลกระทบต่องบการเงินในกรณีที่งบการเงินได้รับผลกระทบ มีดังนี้ 1. ข้อผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่องบแสดงฐานะการเงินเพียงงบเดียว Ex. กิจการได้รับแคชเชียร์เช็คจากลูกหนี้การค้า จำนวน 10,000 บาท พนักงานบันทึกรายการโดย Dr. เงินฝากธนาคาร 10,000.- Cr. ลูกหนี้การค้า 10,000.- ต่อมาผู้จัดการฝ่ายบัญชีตรวจพบข้อผิดพลาดหลังจากนำแคชเชียร์เช็คไปฝากธนาคารแล้วดังนั้น ไม่ต้องทำการปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด
_________________________________________ 2. ข้อผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่องบกำไรขาดทุนเพียงงบเดียว Ex. กิจการบันทึกค่าน้ำเป็นค่าโทรศัพท์จำนวน 10,000 บาท พนักงานบัญชีบันทึกรายการโดย Dr. ค่าโทรศัพท์ 10,000.- Cr. เงินสด 10,000.- _________________________________________ ต่อมาผู้จัดการฝ่ายบัญชีตรวจพบข้อผิดพลาดก่อนปิดบัญชี ดังนั้น บันทึกแก้ไขข้อผิดพลาด โดย Dr. ค่าน้ำ 10,000.- Cr. ค่าโทรศัพท์ 10,000.- แต่ถ้าผู้จัดการฝ่ายบัญชีตรวจพบข้อผิดพลาดหลังปิดบัญชี ดังนั้นไม่ต้องทำการปรับปรุงรายการ เพียงแค่หมายเหตุไว้
3. ข้อผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่องบกำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงิน Ex. กิจการไม่ได้บันทึกค่าเช่าค้างจ่ายสำหรับ ไตรมาสที่ 4 ของปี 2559 ในวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ประเด็นที่ต้องพิจารณา 1. ถ้าไม่ได้บันทึกส่งผลกระทบต่องบกำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าความเป็นจริงและหนี้สินต่ำกว่าความเป็นจริง 2. พบข้อผิดพลาดเมื่อใด
2.1) พบข้อผิดพลาดก่อนปิดบัญชี แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย 2559 ธ.ค. 31 Dr. ค่าเช่า xxx Cr. ค่าเช่าค้างจ่าย xxx _________________________________________ 2.2) พบข้อผิดพลาดหลังปิดบัญชีปี 2559 แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย ธ.ค. 31 Dr. กำไรขาดทุน xxx Cr. ค่าเช่าค้างจ่าย xxx ________________________________________
2.3) พบข้อผิดพลาดเมื่อต้นปี 2560 ช่วงไตรมาสที่ 1 2.3.1) กรณีพบแล้วแต่ยังไม่ชำระเงิน แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย 2560 ก.พ. 1 Dr. กำไรสะสม xxx Cr. ค่าเช่าค้างจ่าย xxx ________________________________________ 2.3.2) กรณีที่ชำระเงินไปแล้ว แก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวโดย Cr. ค่าเช่า xxx
คณะผู้จัดทำ AC03