ทักษะการคิดและกระบวนการคิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ชิ้นงานที่ 2 ณัฐนันท์ สัญวงษ์. ต่อ คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือปัญหา ซับซ้อนต่างๆ คอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์หลักที่ใช้ในการ ติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
----- ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2.
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ

นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.

อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
อ.ดร.อุบลวรรณ หงษ์วิทยากร
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การออกแบบและเทคโนโลยี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
หน่วยการเรียนที่ 1 : องค์ประกอบการคิดของมนุษย์
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การบูรณาการสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การอ่านจับใจความสำคัญและคิดวิเคราะห์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
การออกแบบ แผนการสอน (มคอ.3) แบบ COPYRIGHT BY CHITTAKHUP.
มาฝึกสมองกันครับ.
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทักษะการคิดและกระบวนการคิด

“คิด” หมายความว่า ทำให้ปรากฏเป็นรูป หรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คาดะคะเน คำนวณ มุ่ง จงใจ ตั้งใจ (ราชบัณฑิตยสถาน.2546:251)

ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการคิดในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของกระบวนการคิดที่สลับซับซ้อน ทักษะการคิดอาจจัดเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภทคือ 1.ทักษะพื้นฐาน (basic skills) ได้แก่ ทักษะการสื่อความหมาย (communication skills) ทักษะการคิดที่เป็นแกนหรือทักษะการคิดทั่วไป (core or general thinking skills) 2.ทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดที่ซับซ้อน (higher order or more complexed thinking skills) ทักษะพื้นฐาน (basic skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นต่อการคิดในระดับที่สูงขึ้นหรือซับซ้อน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นทักษะการสื่อความหมายที่บุคคลทุกคนจำเป็นต้องใช้ในการสื่อสารความคิดของตน

ทักษะการสื่อความหมาย 1.การฟัง (listening) 2.การอ่าน (reading) 3.การรับรู้ (perceiving) 4.การจดจำ (memorizing) 5.การจำ (remembering) 6.การคงสิ่งที่เรียนไปแล้วไว้ได้ภายหลังการเรียนนั้น (retention) 7.การบอกความรู้ได้จากตัวเลือกที่กำหนดให้ (recognizing) 8.การบอกความรู้ออกมาด้วยตนเอง (recalling) 9.การใช้ข้อมูล (using information) 10.การบรรยาย (describing) 11.การอธิบาย (explaining) 12.การทำให้กระจ่าง (clarifying) 13.การพูด (speaking) 14.การเขียน (writing) 15.การแสดงออกถึงความสามารถของตน

ทักษะการคิดที่เป็นแกนหรือทักษะการคิดทั่วไป (core or general thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิด ที่จำเป็นต้องใช้อยู่เสมอในการดำรงชีวิตประจำวันและเป็นพื้นฐานของการคิดขั้นสูงที่มีความสลับซับซ้อน ซึ่งคนเราจำเป็นต้องใช้ในการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนใช้ในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ

ทักษะการคิดที่เป็นแกน 1.การสังเกต (observing) 2.การสำรวจ (exploring) 3.การตั้งคำถาม (questioning) 4.การเก็บรวบรวมข้อมูล (information gathering) 5.การระบุ (identifying) 6.การจำแนก แยกแยะ (discriminating) 7.การจัดลำดับ (ordering) 8.การเปรียบเทียบ (comparing) 9.การจัดหมวดหมู่ (classifying) 10.การสรุปอ้างอิง (inferring) 11.การแปล (translating) 12.การตีความ (interpreting) 13.การเชื่อมโยง (connecting) 14.การขยายความ (elaborating) 15.การให้เหตุผล (reasoning) 16.การสรุปย่อ (summarizing)

ทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดที่ซับซ้อน (higher order or more complexed thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่มีขั้นตอนหลายชั้นและต้องอาศัยทักษะการสื่อความหมายและทักษะการคิด ที่เป็นแกนหลายๆ ทักษะในแต่ละขั้น ทักษะการคิดขั้นสูงจึงจะพัฒนาได้เมื่อเด็กได้พัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน จนมีความชำนาญพอสมควรแล้ว

ทักษะการคิดขั้นสูง 1.การสรุปความ (drawing comnclusion) 2.การให้คำจำกัดความ (defining) 3.การวิเคราะห์ (analyzing) 4.การผสมผสานข้อมูล (integrating) 5.การจัดระบบความคิด (organizing) 6.การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (constructing) 7.การกำหนดโครงสร้างความรู้ (structuring) 8.การแก้ไขปรับปรุงโครงสร้างความรู้เสียใหม่ (restructuring) 9.การค้นหาแบบแผน (finding patterns) 10.การหาความเชื่อพื้นฐาน (finding underlying assumption) 11.การคิดคะเน / การพยากรณ์ (predicting) 12.การตั้งสมมุติฐาน (formulating hypothesis) 13.การทดสอบสมมุติฐาน (testing hypothesis) 14.การตั้งเกณฑ์ (establishing criteria) 15.การพิสูจน์ความจริง (verifying) 16.การประยุกต์ใช้ความรู้ (applying)

สืบค้นจาก http://www. sahavicha. com/ สืบค้นจาก http://www.sahavicha.com/?name=blog&file=readblog&id=189 อ้างอิงข้อมูลจาก ... ศรินธร วิทยะสิรินันท์. วิทยาการด้านการคิด.กรุงเทพมหานคร:บริษัท เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์ จำกัด.2544. (118-140) ข้อมูลเพิ่มเติม การขับเคลื่อนความรู้สุ่ห้องเรียน http://www.pck1.go.th/kmc/kmc/gpas.doc การคิดและการสอนเพื่อพัฒนาการคิด http://www.mc41.com/more/think01.htm การพัฒนาทักษะการคิด http://advisor.anamai.moph.go.th/download/think04.html ตำรา ... การพัฒนาทักษะการคิด http://advisor.anamai.moph.go.th/tamra_develop.html

THANK YOU