หน่วยการเรียนที่ 7 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย Dreamweaver

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CHAPTER 14 Database Management
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การใช้งาน Microsoft Excel
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
1 การใช้งานระบบจัดการ ฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin.
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม หลังจากเข้าสู่โปรแกรม ระบบปฏิบัติการ MS_WINDOWS สามารถเข้า สู่โปรแกรม Access ได้หลายวิธี ตามขั้นตอน ต่อไปนี้ วิธีที่ 1 เลือกเมนู Start.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
การใช้โปรแกรม Microsoft Word XP Microsoft Word XP.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ยินดีต้อนรับผู้เข้าอบรมการพัฒนาเว็บไซต์ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
คู่มือสำหรับผู้สมัครงาน ระบบนัดพบตลาดงานเชิง คุณภาพ ( นัดพบ IT )
วรกร สุพร งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ระบบฐานข้อมูลบริการวิชาการ ของสำนักงานบริการวิชาการ ระเบียบพัฒนาวิชาการ พ. ศ.2551 คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมูล บริการวิชาการ – สะดวก รวดเร็ว ไม่ซับซ้อน.
1 ปฏิบัติการที่ 03 การใช้งาน โปรแกรม Microsoft PowerPoint.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
SQL Structured Query Language.
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Introduction to VB2010 EXPRESS
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
Introduction SQLite Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 3 การสร้างเว็บไซต์ และการปรับคุณสมบัติของเว็บเพจ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การใช้งานเครื่องมือพื้นฐานของ BI
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
SMS News Distribute Service
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การเขียนโปรแกรมระบบลงทะเบียนสมาชิก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การบันทึกข้อมูลองค์ความรู้ ผ่านระบบ thaismartfarmer.net
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
การเขียนเว็บ Web Editor
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนที่ 7 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย Dreamweaver

เมื่อกล่าวถึงการเขียนโปรแกรมติดต่อฐานข้อมูล มักจะมีคำสั่งที่นำมาใช้งานประจำเพียงไม่กี่คำสั่ง เช่น การเชื่อมต่อฐานข้อมูล การเพิ่มข้อมูล การค้นหาข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล การลบข้อมูล ซึ่งในหน่วยการเรียนที่ 6 ได้กล่าวถึงการเรียกใช้ Function PHP ที่ใช้ในการติดต่อฐานข้อมูล MySQL โดยกล่าวถึงการทำงานและขั้นตอนการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้งานฐานข้อมูล MySQL ไปแล้วนั้น ในหน่วยการเรียนนี้จะกล่าวถึงรูปแบบการจัดการฐานข้อมูล MySQL ในอีกรูปแบบโดยใช้โปรแกรม Adobe Dreamweaver ช่วยในการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการจัดการฐานข้อมูล โดยจะมีรูปแบบการจัดการฐานข้อมูล MySQL ด้วย Dreamweaver Function ดังนี้ 1) การเชื่อมต่อฐานข้อมูล MySQL Database Connection ในการเรียกใช้งาน Dreamweaver Function สำหรับจัดการฐานข้อมูล MySQL นั้นจะมีการจัดการข้อมูลผ่าน Function Data Object จะมีขั้นตอนแรกในการเริ่มต้นการใช้งาน โดยทำการเชื่อมต่อฐานข้อมูลผ่าน MySQL Database Connection โดยมีรูปแบบและคำอธิบายวิธีการใช้งานดังนี้ 1) คลิก เลือกเมนู windows 2) คลิก เลือก Database เพื่อเริ่มต้นจัดการฐานข้อมูล MySQL Connection

01 02 03 04 ภาพที่ 7.1 การเริ่มต้นใช้งาน MySQL Connection 1. คลิก windows 2. คลิก Database 01 02 ภาพที่ 7.1 การเริ่มต้นใช้งาน MySQL Connection 03 เมื่อเลือกเมนู Database จะปรากฏแถบเครื่องมือจัดการ Database ดังภาพโดยระบบจะทำการตรวจสอบการเชื่อมต่อ Dynamic Data ซึ่งได้กล่าวไว้แล้วในหน่วยการเรียนที่ 1 เรื่องการเชื่อมต่อโปรแกรม Dreamweaver CS6 กับเว็บเซิฟเวอร์โดยการตั้งค่าผ่าน Manage Sites โดยในขั้นตอนนี้ระบบได้ตรวจสอบความถูกต้องการเชื่อมต่อ dynamic data ผ่านมา 3 ขั้นตอนแล้วคือ 1) Create a site for this file. 2) Choose a document type. 3) Set up the site’s testing server. 04

ภาพที่ 7.2 Create a Connection เหลือเพียงขั้นตอนสุดท้ายคือการ Create a Connection by clicking on(+)button above. เชื่อมต่อ Dreamweaver กับฐานข้อมูล MySQL โดยมีการเชื่อมต่อการ คลิก ที่เครื่องหมาย + คลิก ภาพที่ 7.2 Create a Connection

ภาพที่ 7.3 Tab MySQL Connection เมื่อทำการ คลิก เลือกเครื่องหมาย + จะปรากฏแถบเมนู MySQL Connection ให้ทำการเลือกแถบเมนู MySQL Connection ดังภาพ คลิก ภาพที่ 7.3 Tab MySQL Connection ภาพที่ 7.4 MySQL Connection เมื่อเข้าสู่ส่วน MySQL Connection จะเป็นการกำหนดค่าการเชื่อมต่อฐานข้อมูล MySQL โดยจะมีส่วนประกอบการกำหนดและตั้งค่าดังนี้ 1) Connection name : ชื่อรูปแบบการเชื่อมต่อให้ตั้งชื่อตามโปรเจคงานนั้นๆ 2) MySQL Server : ชื่อโดเมนเนมหรือหมายเลขไอพีเครื่องเซิฟเวอร์ในที่นี้ให้ใส่ชื่อ โดเมนlocalhost หรือหมายเลขไอพี 127.0.0.1

ภาพที่ 7.6 Select Database 3.) User name : ชื่อผู้ใช้ในการเข้าถึงฐานข้อมูล MySQL ให้กำหนดค่าเป็น root 4.) Password : รหัสผ่านในการเข้าถึงฐานข้อมูล ค่าเริ่มต้นในการติดตั้งโปรแกรม Warp Server ในหน่วยการเรียนที่ 1 จะไม่มี การกำหนดค่ารหัสผ่านให้ว่างไว้ 5.) Database : ชื่อฐานข้อมูลที่ต้องการติดต่อเพื่อใช้งาน คลิก ภาพที่ 7.5 การกำหนดค่า MySQL Connection เมื่อทำการคลิกเลือก select เมื่อใส่ชื่อ MySQL Server, Username, Password ถูกต้องจะสามารถเข้าสู่ฐานข้อมูลเพื่อเลือกฐานข้อมูลได้ดังภาพประกอบ 1. คลิก เลือกชื่อฐานข้อมูล 2. คลิก ภาพที่ 7.6 Select Database

ภาพที่ 7.7 ผลลัพธ์เมื่อเลือกฐานข้อมูลถูกต้อง Select Database คลิก ภาพที่ 7.7 ผลลัพธ์เมื่อเลือกฐานข้อมูลถูกต้อง Select Database ในกรณีที่ไม่สามารถเชื่อมต่อฐานข้อมูลได้จะแสดงคำเตือนดังภาพให้ตรวจสอบชื่อเซิร์ฟเวอร์ ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านให้ถูกต้อง ภาพที่ 7.8 ผลลัพธ์ในกรณีเชื่อมต่อฐานข้อมูลไม่ได้ คลิก ภาพที่ 7.9 ยืนยันการตั้งค่า MySQL Connection

ภาพที่ 7.11 ชื่อตารางในฐานข้อมูล เมื่อการติดตั้ง MySQL Connection เสร็จสมบูรณ์จะปรากฏแท็บ Database ที่แสดงชื่อ Connection ที่ได้ตั้งชื่อไว้โดยสามารถ คลิก เลือก tables เพื่อทำการตรวจสอบตารางในฐานข้อมูลได้ คลิก ภาพที่ 7.10 Tab Database   ภาพที่ 7.11 ชื่อตารางในฐานข้อมูล

ภาพที่ 7.12 เลือกเมนู Record Insertion Form Wizard 2) การเขียนโปรแกรมเพิ่มข้อมูลด้วย Insert Record เมื่อผ่านกระบวนการสร้าง MySQL Connection ก็จะเข้าสู่การสร้างการจัดการข้อมูล เช่น การเพิ่ม แสดงผล แก้ไข ลบ ซึ่งโปรแกรม Dreamweaver เองได้สร้างเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการข้อมูลเหล่านี้ง่ายขึ้นโดยจะอยู่ในส่วนของ Data Object ที่จะรวมการจัดการข้อมูลทั้งหมด ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการจัดการเพิ่มข้อมูลด้วย Insert Record มีขั้นตอนการสร้างโปรแกรมเพิ่มข้อมูลดังนี้ 1) สร้าง File > New กำหนดชื่อไฟล์ register.php 2) คลิก เลือกเมนู insert > Data Objects > Insert Record > Record Insertion Form Wizard 1. Insert 2. Data Objects 3. Insert Record 4. คลิก ภาพที่ 7.12 เลือกเมนู Record Insertion Form Wizard

ภาพที่ 7.13 Record Insertion Form เมื่อทำการเลือก Record Insertion Form Wizard จะแสดงส่วนการจัดการ Record Insertion Form โดยจะมีรูปแบบคำอธิบายการตั้งค่าดังนี้ 1) Connection : แสดงชื่อ Connection ที่ได้จากการกำหนดค่าการเชื่อมต่อในหัวข้อที่ผ่านมา 2) Table : ใช้เลือกตาราง (table) ในฐานข้อมูลที่ต้องการจัดการเพิ่มข้อมูล 3) After inserting, goto : ใช้ในการกำหนดไฟล์ปลายทางเมื่อโปรแกรมบันทึกข้อมูลเสร็จ ให้ตั้งค่ากำหนดปลายทางไปที่ studentshow.php 4) Form fields : เป็นการแสดงชื่อ ฟิลล์ ในฐานข้อมูลใช้ในการเลือกเพื่อกำหนดการตั้งค่าชื่อ Lableรูปแบบการแสดงผล Display as และประเภทฟิลล์ข้อมูล

ภาพที่ 7.14 การตั้งค่า Record Insertion Form 1. เลือก Connection 2. เลือก ตาราง 3. เลือก ไฟล์ปลายทาง 4. เลือก ฟิลล์ ที่ต้องการ จัดการ 5. เปลี่ยนชื่อฟิลล์เป็น ภาษาไทย 6. กำหนดประเภท Display ให้เหมาะสม กับข้อมูล 7. กำหนดชนิด ข้อมูล 8. คลิก ภาพที่ 7.14 การตั้งค่า Record Insertion Form ในการกำหนดค่า Form fields ในส่วนของ Label ให้เปลี่ยนชื่อฟิลล์เป็นภาษาไทย แต่เราสามารถไปแก้ไขได้ในส่วนของการจัดการฟอร์มหลังการ Create Record Insertion Form ไปแล้ว ส่วน Display as จะเป็นส่วนที่ใช้ในการกำหนด ช่อง input รับค่าซึ่งถูกกำหนดเป็นค่าเริ่มต้นไว้แล้วแต่บางกรณีเราสามารถปรับเปลี่ยนได้ เช่น ในส่วนของฟิลล์ข้อมูล address ที่มีปริมาณข้อมูลที่ต้องรับเยอะให้เปลี่ยนจาก Text filed เป็น Text area เพื่อความเหมาะสมในการรับข้อมูล

ภาพที่ 7.15 ผลลัพธ์จากการสร้าง Record Insertion Form ผลลัพธ์จากการสร้าง Record Insertion Form เราสามารถปรับแต่งฟอร์มและแก้ไข Label ด้านหน้าให้เหมาะสมกับชื่อของฟิลล์นั้นๆดังตัวอย่าง ภาพที่ 7.16 ผลลัพธ์การปรับแต่งฟอร์ม (Form)

ภาพที่ 7.17 ตัวอย่าง Code ภาษา PHP ที่โปรแกรม Create โปรแกรม Dreamweaver เมื่อทำการสร้าง Record Insertion Form โปรแกรมจะสร้าง Code สำหรับเพิ่มข้อมูลให้โดยอัตโนมัติโดยเราจะทำหน้าที่เพียงปรับแต่งและเรียกใช้งานโปรแกรม ภาพที่ 7.17 ตัวอย่าง Code ภาษา PHP ที่โปรแกรม Create การทดสอบโปรแกรมสามารถทำได้โดยการ กด F12 เพื่อแสดงผลข้อมูลและทดลองกรอกแบบฟอร์มเพื่อเพิ่มข้อมูล นักศึกษา ภาพที่ 7.18 ผลลัพธ์การทดสอบโปรแกรมเพิ่มข้อมูล

ภาพที่ 7.19 บันทึกข้อมูล Student คลิก ภาพที่ 7.19 บันทึกข้อมูล Student ภาพที่ 7.20 ผลลัพธ์การบันทึกข้อมูล Student แสดงผลลัพธ์การบันทึกข้อมูลจะแสดงดังภาพเนื่องจากไฟล์แสดงข้อมูล studentshow.php ยังไม่ได้สร้างซึ่งจะอธิบายวิธีการการสร้างไฟล์ในส่วนถัดไป ให้ทำการตรวจสอบการบันทึกข้อมูลว่าสามารถทำงานได้หรือไม่ผ่านโปรแกรม phpMyAdmin ในส่วนของการแสดงข้อมูลภายในตาราง student

ภาพที่ 7.21 ตรวจสอบผลลัพธ์การบันทึกข้อมูล Student ข้อมูลถูกบันทึกสมบูรณ์ ภาพที่ 7.21 ตรวจสอบผลลัพธ์การบันทึกข้อมูล Student 3) การเขียนโปรแกรมแสดงข้อมูลด้วย Recordset และ Dynamic Data ในหัวข้อที่ผ่านมาได้กล่าวถึงการเขียนโปรแกรมเพิ่มข้อมูลลงฐานข้อมูล MySQL ซึ่งเราได้กำหนดค่าให้การแสดงผลลัพธ์การบันทึกข้อมูลส่งค่ามาที่ไฟล์ studentshow.php ซึ่งจะใช้ในการแสดงค่าข้อมูลในฐานข้อมูล MySQL ซึ่งจะใช้คำสั่ง SQL ในการเรียกดูข้อมูล เช่น Select * from student หรือ จะเป็นการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไข Select * from student where stu_name =…..; จากตัวอย่างที่กล่าวมาโปรแกรม Dreamweaver เองก็มีลำดับการสร้างไฟล์แสดงข้อมูลดังภาพประกอบ studentshow.php MySQl Connection   Data Object Recordset Data Object Dynamic Data ภาพที่ 7.22 ลำดับขั้นการทำงานไฟล์ studentshow.php

ภาพที่ 7.23 สร้างไฟล์ studentshow.php เริ่มต้นเขียนโปรแกรมแสดงข้อมูลนักศึกษา สร้าง File > New ชื่อ studentshow.php ภาพที่ 7.23 สร้างไฟล์ studentshow.php 1. Inser t 2. Data Object 3. คลิก Recordset ภาพที่ 7.24 สร้าง Recordset

ภาพที่ 7.25 หน้าต่าง Recordset Simple เมื่อทำการเลือก Recordset จะแสดงหน้าต่าง Recordset ที่จะใช้ในการจัดการฐานข้อมูลโดยคำสั่งหลักที่ใช้สำหรับ Recordset คือคำสั่งในกลุ่มของ SQL Select โดยลักษณะการใช้งาน Recordset จะแบ่งเป็น 2 แบบคือแบบ Simple และ Advanced โดยจะอธิบายถึงรูปแบบการใช้งานทั้ง 2 แบบดังนี้ คลิก ภาพที่ 7.25 หน้าต่าง Recordset Simple 1) Name : ตั้งชื่อ Recordset ควรตั้งชื่อให้เหมาะสมกับตารางที่เรียกแสดง 2) Connection : เลือกรูปแบบการเชื่อมต่อ Connection 3) Table : เลือกตารางที่ต้องเรียกแสดง 4) Columns : กำหนดได้ 2 รูปแบบคือแสดงทั้งหมดหรือแค่บางส่วน 5) Filter : กำหนดคุณสมบัติการคัดกรองข้อมูลโดยการเลือกฟิลล์ข้อมูลและเงื่อนไขการคัดกรอง 6) Sort : กำหนดรูปแบบการเรียงข้อมูลเช่น ASC, DEAC จากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย ในบางครั้งการจัดการข้อมูลในส่วนของ Recordset Simple อาจจะยังไม่ครอบคลุมเงื่อนไขในการทำงานได้สมบูรณ์เราสามารถไปกำหนดและเขียนคำสั่ง SQL เพิ่มเติมได้ในส่วนของ Advance

ภาพที่ 7.26 หน้าต่าง Recordset Advance   ภาพที่ 7.26 หน้าต่าง Recordset Advance ในส่วนของการจัดการข้อมูล Recordset Advance เราสามารถเขียนคำสั่งเพิ่มเติมได้ในส่วนของคำสั่ง SQL แต่ในหัวข้อนี้เราจะใช้เพียงการจัดการข้อมูลแบบ Recordset Simple ให้ทำการเลือกและบันทึกข้อมูล ดังตัวอย่าง 1. ตั้งชื่อ studentshow 2. เลือกตาราง student 3. คลิก ภาพที่ 7.27 ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล Recordset Simple

ภาพที่ 7.28 ผลลัพธ์การเลือกข้อมูลในส่วน Bindings เมื่อทำการบันทึกข้อมูล Recordset จะมีแสดงข้อมูลในส่วนของ Bindings และแสดง Recordset ในชื่อของ studentshow ที่จะแสดงรายละเอียดฟิลล์ของตาราง student   ภาพที่ 7.28 ผลลัพธ์การเลือกข้อมูลในส่วน Bindings เมื่อเสร็จสิ้นการสร้าง Recordset จะเข้าสู่การนำ Recordset ไปใช้งานผ่าน Dynamic Data โดยจะแสดงผลในรูปแบบ Dynamic Table แสดงผลเป็นตารางดังนี้ 1. Inser t 2. Data Objects 3. Dynamic Data 4. คลิก Dynamic Table ภาพที่ 7.29 การสร้าง Dynamic Table

ภาพที่ 7.30 หน้าต่าง Dynamic Table 1. กำหนดค่า border = 1 cell padding = 2 cell spacing = 1   2. คลิก ภาพที่ 7.30 หน้าต่าง Dynamic Table การตั้งค่า Dynamic Table เบื้องต้นจะกล่าวถึงรูปแบบการตั้งค่าแสดงผลโดย Recordset ที่สร้างขึ้นในหัวข้อที่ผ่านมา โดยจะอธิบายรูปแบบการใช้งานดังนี้ 1) Recordset : เป็นการเลือกชื่อ Recordset ที่สร้างขึ้นในหัวข้อที่ผ่านมา 2) Show : รูปแบบการแสดงผลข้อมูลโดยกำหนดได้ 2 รูปแบบ คือแบบระบุจำนวนที่แสดงผลโดยค่าเริ่มต้นคือ 10 Records แต่เราสามารถปรับเปลี่ยนได้ ในส่วนที่ 2 จะเป็นการเลือกให้แสดงทั้งหมด All records 3) Border : เป็นการกำหนดขนาดเส้นของตารางในกรณีที่ไม่ต้องการให้แสดงเส้นตารางให้กำหนด Border = 0 4) Cell padding : เป็นการกำหนดการควบคุม ระยะห่างระหว่างเซลล์ตารางซึ่งโดยปกติ บราวเซอร์ทั่ว ๆ มักจะ ให้ค่า default = 2 5) Cell Spacing : เป็นการกำหนดการควบคุม พื้นที่ระหว่างเนื้อหาของเซลล์ กับผนังเซลล์ ตารางซึ่งโดยปกติ บราวเซอร์ทั่ว ๆ ไป มักจะให้ค่า default = 1

ภาพที่ 7.31 ผลลัพธ์การสร้าง Dynamic Table เปลี่ยนชื่อ Column เป็น ภาษาไทย   ภาพที่ 7.31 ผลลัพธ์การสร้าง Dynamic Table ภาพที่ 7.32 ผลลัพธ์การเปลี่ยนชื่อ Column Dynamic Table

ภาพที่ 7.33 ผลลัพธ์โปรแกรมแสดงข้อมูล studentshow.php เมื่อทำการปรับเปลี่ยนชื่อ Column เป็นภาษาไทยให้สอดคล้องกับชื่อ Field แล้วให้ทำการทดสอบโปรแกรมโดยการกด F12 เพื่อแสดงผลลัพธ์ข้อมูลที่อ่านได้จากฐานข้อมูล MySQL ตาราง student ภาพที่ 7.33 ผลลัพธ์โปรแกรมแสดงข้อมูล studentshow.php 4) การเขียนโปรแกรมแก้ไขข้อมูลด้วย Update Record การเขียนโปรแกรมเพื่อทำการแก้ไขข้อมูลผ่าน Update Record จำเป็นต้องทำการเขียนโปรแกรมเชื่อมโยง (Link) จากไฟล์ studentshow.php เพื่อส่งค่า รหัสนักศึกษาที่ทำหน้าที่เป็น Primary key เพื่อส่งค่าให้ไฟล์ studentupdate.php ทำการแก้ไขข้อมูลและปรับปรุงข้อมูล โดยอธิบายการทำงานของโปรแกรมผ่านภาพประกอบดังนี้ Studentshow.php Link ส่งค่าตัวแปร Primary key รหัสนักศึกษา (stu_id)   Studentupdate.php - สร้าง Recordset แบบมีเงื่อนไขค้นหาผ่าน stu_id - เลือก Recordset เพื่อดึงข้อมูลมาแสดงผ่าน Form - แสดงข้อมูลผ่าน Form Studentupdate - ทำการปรับปรุงข้อมูล Update ภาพที่ 7.34 ผังภาพอธิบายการทำงาน Update Record

ส่วนที่พิมพ์เพิ่มเติม เมื่อต้องการส่งค่าตัวแปร stu_id ให้ทำการเปิดไฟล์ studentshow.php และทำการเขียนโปรแกรมเชื่อมโยงไฟล์เพิ่มเติมในส่วนของการสร้าง Column เพิ่มเติมสำหรับตารางแสดงข้อมูลและเขียนคำสั่ง Link ส่งค่าข้อมูล รหัสนักศึกษา ทั้งในส่วนของการแก้ไขไปที่ไฟล์ studentupdate.php และในส่วนของการลบ studentdel.php ดังไฟล์ตัวอย่าง studentshow.php ส่วนที่พิมพ์เพิ่มเติม   ภาพที่ 7.35 studentshow.php ส่งค่า stu_id ภาพที่ 7.36 ผลลัพธ์ studentshow.php สามารถตรวจสอบการส่งค่าข้อมูลได้โดยการเลื่อน เมาส์ ไปที่ แก้ไข หรือ ลบ สังเกตที่มุมด้านล่างซ้ายค่าตัวแปรที่ส่งผ่าน stu_id จะเปลี่ยนไปตามรหัสนักศึกษาที่ต้องการส่งค่า เมื่อทำการเขียนโปรแกรม studentshow.php สำหรับส่งค่าตัวแปรเสร็จสมบูรณ์ก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการสร้างไฟล์ File > New > studentupdate.php

ภาพที่ 7.37 สร้างไฟล์ studentupdate.php การสร้าง recordset สำหรับการ Update หรือปรับปรุงฐานข้อมูลนั้น จะต้องมีการส่งค่ามาจากไฟล์ Studentshow.php เพื่อนำค่าตัวแปร stu_id มาค้นหาในตาราง เพื่อทำการแก้ไข โดยในกระบวนการสร้างไฟล์ studentupdate.php นั้นสิ่งที่ต้องทำในขั้นตอนที่ 1 คือการสร้าง Recordset เพื่อทำการกำหนดการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไข โดยจะทำการค้นหาข้อมูลจากตัวแปรที่ได้ส่งค่ามาแล้วคือ stu_id ซึ่งโปรแกรม recordset จะทำหน้าที่เขียนคำสั่ง SQL ให้สำหรับค้นหาข้อมูล เช่น select * from student where stu_id = $_GET[stu_id]; 1. Insert 2. Data Object 3. คลิก Recordset ภาพที่ 7.38 เลือก Recordset

4. ใส่ค่าตัวแปรที่รับ ค่า 5. คลิก 1. ตั้ง ชื่อ 2. เลือก ตาราง 3. กำหนดรูปแบบการกรอง 4. ใส่ค่าตัวแปรที่รับ ค่า 5. คลิก ภาพที่ 7.39 สร้าง Recordset เมื่อสร้าง Recordset ตามเงื่อนไขแล้วให้ทำการตรวจสอบการสร้าง Recordset ในส่วนของ Bindings จะปรากฏ Recordset(studentupdate) ภาพที่ 7.40 ผลลัพธ์แสดงข้อมูล Bindings

ภาพที่ 7.42 ผลลัพธ์การเรียกใช้งาน Record Update Form Wizard เมื่อทำการสร้าง Recordset ในชื่อ studentupdate ก็จะถึงขั้นตอนการสร้าง Update Record ที่จะจัดการผ่าน Dreamweaver Functions ตามลำดับดังนี้ Insert > Data Objects > Update Record > Record Update Form Wizard 1. Ins ert 2. DataObj ect 3. Update Record 4. Record Update Form Wizard ภาพที่ 7.41 การเรียกใช้งาน Record Update Form Wizard ภาพที่ 7.42 ผลลัพธ์การเรียกใช้งาน Record Update Form Wizard

ภาพที่ 7.43 Record Update For การตั้งค่า Record Update Form จะกล่าวถึงรูปแบบการปรับปรุงข้อมูลผ่าน Record Update Form โดยจะอธิบายรูปแบบการใช้งานดังนี้ 1) Connection : รูปแบบการเชื่อมต่อ 2) Table to update : ตารางที่ต้องการปรับปรุงข้อมูล 3) Select record form : เลือกรูปแบบ Recordset ที่สร้างในหัวข้อที่ผ่านมา studentupdate 4) Unique key Column : Key ที่กำหนดเป็น Key หลักใช้ในการแก้ไขข้อมูล 5) After updating go to : เมื่อทำการแก้ไขข้อมูลแล้ว ให้กลับที่ตำแหน่งไฟล์ไหน 6) Form Fields : ฟิลล์ส่วนที่ต้องการให้แสดงใน ฟอร์ม ใช้ในการคลิกกำหนดเปลี่ยนชื่อ Label 7) Label : เปลี่ยนชื่อฟิลล์ลาเบล 8) Display as : กำหนดรูปแบบ input ที่ใช้ในการรับค่าตัวแปร

ภาพที่ 7.44 ผลลัพธ์ของการสร้าง Update Form ทำการทดสอบโปรแกรมโดยการคลิกส่งค่าจากไฟล์ studentshow.php เพื่อมาทำการแก้ไขข้อมูลที่ studentupdate.php ภาพที่ 7.45 ผลลัพธ์ฟอร์มแก้ไขข้อมูล studentupdate.php

ภาพที่ 7.46 ผลลัพธ์แสดงผลการแก้ไขข้อมูล 5) การเขียนโปรแกรมลบข้อมูลด้วย Delete Record เมื่อทำการเขียนโปรแกรม studentshow.php ในหัวข้อที่ผ่านมาสำหรับส่งค่าตัวแปรเสร็จสมบูรณ์ก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการสร้างไฟล์ File > New > studentdel.php ภาพที่ 7.47 สร้างไฟล์ studentdel.php เมื่อทำการสร้างไฟล์ studentdel.php แล้วจะเข้าสู่ขั้นตอนการสร้าง Delete Record เพื่อรับค่าStu_id เพื่อทำการสร้างไฟล์ดังนี้ Insert > Data Object > Delect Record 1. Insert 2. Data Object 3. คลิก Delete Record ภาพที่ 7.48 เลือกใช้งาน Delete Record

ภาพที่ 7.49 Delete Record การตั้งค่า Delete Record จะกล่าวถึงรูปแบบการลบข้อมูลผ่าน Delete Record โดยจะอธิบายรูปแบบการใช้งานดังนี้ 1) First check if variable is defined : ใช้ในการกำหนดค่าเริ่มต้นในการใช้เป็น Key หลักในการจัดการข้อมูล ให้กำหนดค่า เป็น Primary key value 2) Connection : กำหนดรูปแบบการเชื่อมต่อ 3) Table : เลือกตารางที่ต้องการจัดการข้อมูล 4) Primary key column : เลือกฟิลล์ที่กำหนดให้เป็น primary key 5) Primary key value : กำหนดค่ารูปแบบการรับค่าตัวแปร ให้กำหนดการรับผ่านURL Parameter ในชื่อตัวแปร stu_id 6) After deleting go to : เมื่อทำการลบข้อมูลแล้ว ให้กลับที่ตำแหน่งไฟล์ไหน

6) บทสรุปท้ายหน่วยเรียน การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดสำหรับงานธุรกิจที่เกี่ยวข้องข้อมูลและการจัดการข้อมูลด้วยคำสั่ง PHP Function ซึ่งได้กล่าวไปแล้วในหน่วยการเรียนที่ 6 ในหน่วยการเรียนนี้ได้กล่าวถึงรูปแบบการจัดการฐานข้อมูล MySQL ในอีกรูปแบบโดยใช้โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS6 ช่วยในการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการจัดการฐานข้อมูล โดยจะมีรูปแบบการจัดการฐานข้อมูล MySQL ด้วย Adobe Dreamweaver Function โดยการเรียกใช้งาน Dreamweaver Function สำหรับจัดการฐานข้อมูล MySQL นั้น จะมีการจัดการข้อมูลผ่าน Function Data Object ซึ่งจะมีเครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูล MySQL อย่างมากมาย เพื่อเป็นแนวทางในการนำมาพัฒนาโปรแกรมสำหรับงานธุรกิจ ที่ช่วยให้การพัฒนางานและระบบเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว