การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis) จังหวัดลำปาง

Generic Value Chain ข้าวปลอดภัย/GAP การเพิ่มผลผลิต การวิจัยและพัฒนา(R&D)และพัฒนาปัจัจยพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป การเพิ่มและสร้างคุณค่า การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนา ระบบการตลาด   1.1 วิจัยความต้องการข้าวปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ(เช่นราคา ชนิดข้าว ที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภค เป็นต้น) 1.2 มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค 1.3 พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี เช่นการปรับปรุงดิน การบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว เป็นต้น 1.4 วิจัยและพัฒนาระบบมาตรฐานการปลูกข้าวปลอดภัยที่เทียบเท่ามาตรฐาน GAP เช่น เกณฑ์มาตรฐาน กลไกและผู้ให้การตรวจรับรองพันธุ์ข้าวและผลผลิตข้าวปลอดภัยทีรวดเร็วและน่าเชื่อถือเทียบเท่ามาตรฐาน GAP 1.5 การพัฒนา ดัดแปลงและเลือก ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวปลอดภัยทั้งกระบวนการ 2.1 ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย 2.2 สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวปลอดภัยที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เช่น การอบรม สาธิต ดูงานด้านการใช้พื้นที่เพาะปลูก การพัฒนาคุณภาพดิน แหล่งน้ำที่ปลอดภัยจากสารเคมี การเพิ่มผลผลิต และการลดต้นทุน เป็นต้น 2.3 เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิตข้าวปลอดภัยที่ได้มาตรฐานของจังหวัดและ GAP 2.4 ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.5 พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวปลอดภัยทั้งกระบวนการ 2.6 มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวปลอดภัย 3.1 ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบลดความชื้นข้าว เป็นต้น) 3.2 ผลผลิตข้าวสารปลอดภัยได้รับการรับรองคุณภาพข้าวเพื่อการค้าในประเทศ ตามมาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด หรือในกรณีที่เป็นเงื่อนไขการส่งออกให้ต้องมีมาตรฐาน GAP/ HACCP 3.3 เกษตรกรมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning) 3.4 เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์ 4.1 โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวปลอดภัย 4.2 ใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย 4.3 โรงสีชุมชนในกระบวน การผลิตข้าวปลอดภัยของจังหวัดส่วนใหญ่เป็น Zero Waste Industry เช่นโรงสีข้าวสามารถควบคุมการปล่อยของเสียได้/แกลบสามารถขายไปทำเชื้อเพลิง/รำข้าวสามารถนำไปทำน้ำมันรำข้าว เป็นต้น 4.4 ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตข้าวให้เป็นผลิตภัณฑ์เอกลักษณ์ของลำปาง เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ เครื่องสำอางค์ น้ำมันรำข้าว และสินค้า OTOP ที่หลากหลายและได้มาตรฐาน เช่น มผช. /OTOP 5 ดาว/ GMP/HACCP เป็นต้น 4.5 การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark)ผลิตภัณฑ์จากข้าวที่ดึงดูด และเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดลำปาง 5.1 ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวปลอดภัยในระดับจังหวัดเช่น มียุ้งฉาง หรือโกดัง หรือสถานที่รวบรวมสินค้าข้าวที่ได้มาตรฐาน(Warehouse) 5.2 ใช้ระบบการขนส่งข้าวปลอดภัยที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าข้าวที่ร่วมในกระบวน การผลิตข้าวปลอดภัยจนถึงตลาด 6.1 มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน 6.2 มีระบบตลาดซื้อขายข้าวปลอดภัยล่วงหน้า 6.3 มีกลไกการกำหนดราคาข้าวปลอดภัยที่เหมาะสมตามคุณภาพ 6.4 มีการประชา สัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว 6.5 การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ 6.6 พัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันทางการตลาด (เช่น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการตลาดกับภาคส่วนต่าง ๆ การรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรอง )

แผนผังสถิติทางการ (Data mapping) Product Champion ข้าวปลอดภัย/GAP จังหวัด ลำปาง

ที่มา: เกษตรจังหวัดลำปาง พื้นที่เก็บน้ำ (ไร่)

ผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ (กก.) ที่มา: เกษตรจังหวัดลำปาง จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่า จังหวัดลำปางมีพื้นที่นาทั้ง 13 อำเภอ แต่บางอำเภอไม่มีแหล่งน้ำธรรมชาติ (หนอง บึง ) และพื้นที่เก็บน้ำยังมีน้อยเมื่อเทียบกับพื้นที่นา นอกจากนี้ แนวโน้มพื้นที่การปลูกข้าวนาปีและผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่มีแนวโน้มลดลง

สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) โครงการสำคัญ / มาตรการ จำนวนแหล่งน้ำธรรมชาติ (หนอง บึง) และพื้นที่เก็บน้ำมีน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ทำนา โครงการส่งเสริมการจัดหาแหล่งน้ำในพื้นที่ขาดแคลน พื้นที่ปลูกข้าวนาปีมีแนวโน้มลดลง โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในแหล่งน้ำแร่แจ้ซ้อน

เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) โครงการส่งเสริมการจัดหาแหล่งน้ำในพื้นที่ขาดแคลน วัตถุประสงค์/เป้าหมาย 1. เพื่อจัดหาแหล่งน้ำในพื้นที่เพาะปลูกที่ขาดแคลนแหล่งน้ำในฤดูกาลผลิต 2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมโครงการ ข้าวปลอดภัย กิจกรรม/แนวทางโครงการ 1. ส่งเสริมการขุดบ่อน้ำใช้เองในพื้นที่ของเกษตรกร 2. ประสานขอขยายพื้นที่เขตชลประทาน

เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในแหล่งน้ำแร่แจ้ซ้อน วัตถุประสงค์/เป้าหมาย 1. เพื่อส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าผลผลิตข้าวไรซ์เบอร์รี่ 2. เพื่อส่งเสริมการสร้างอัตลักษณ์ข้าวไรซ์เบอร์รี่ลำปาง กิจกรรม/แนวทางโครงการ 1. คัดเลือกเกษตรกรเข้าร่วมโครงการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในแหล่งน้ำแร่แจ้ซ้อน 2. อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในแหล่งน้ำแร่แจ้ซ้อนอย่างมี คุณภาพ 3. การออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ 4. การติดตามและประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพข้าวไรซ์เบอรี่ในแหล่ง น้ำแร่แจ้ซ้อน 5. การส่งเสริมการตลาด