การจัดการความเจ็บปวด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
Advertisements

แผนภูมิที่ 1 แสดงการรักษาโรค Croup
RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
การประเมินความปวดและการบันทึก
Stress คือ การเน้นพยางค์ เราจะสังเกตเห็นว่าใน
Principle of Prachinburi Triage Scale(PTS)
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข
ADA 2013 Guideline :DM Goal.
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
Triage 5 ระดับในระบบส่งต่อ
Karoon Ramkaroon, Resident 2 nd year. Patient information  หญิงไทย คู่ อายุ 40 ปี  อาชีพ ค้าขาย  ภูมิลำเนา อ. รัษฎา จ. ตรัง  Chief complaint  แน่นหน้าอก.
Neonatal Network Area 2 Single standard of quality พญ. น้ำทิพย์ อินทับ กุมารแพทย์ทารกแรกเกิดและปริกำเนิด เลขาคณะทำงานทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 2.
การใช้เครื่องมือในระบบการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
โครงการผ่าตัดต้อกระจก ขจัดตาบอดจากต้อกระจก
Siriporn Chitsungnoen
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
Nursing Care of the Child of Gastrointestinal Disease
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค กุมภาพันธ์ 2554
Essential nutrition in ICU
การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
การจำแนกระดับความฉุกเฉิน ในระบบส่งต่อ
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
The Child with Respiratory dysfunctionII
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ตารางที่ ก.5 ปริมาณเหล็กเสริมและค่าสัมประสิทธิ์ต้านแรงดัด
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
Chapter 4 Data Pre-Processing อาจารย์อนุพงศ์ สุขประเสริฐ
การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
การสร้างบุคลิกภาพในงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
Siriraj Patient Classification
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ. ศ
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความเจ็บปวด

วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ทีมผู้รักษาพยาบาลมีการดูแลผู้ป่วยที่มีการเจ็บปวด อย่างต่อเนื่องเป็นไปตามมาตรฐานการจัดการความปวด เพื่อกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบสำหรับทีมผู้รักษาพยาบาลในการ ประเมินอาการปวดและประเมินซ้ำหลังได้รับการจัดการความปวดแล้ว

แนวทางการปฏิบัติ ขั้นที่ 1 ประเมิน - อาการปวด - การหายใจ - ระยะเวลา - บันทึกอาการปวด

ขั้นที่ 2 การจัดการกับความปวด 1.แบบใช้ยา ดวามปวดระดับเล็กน้อย : ใช้ยาชนิด Non-opioid หรือ Opioid ความปวดระดับปานกลางถึงรุนแรง : ใช้ยา Opioid + Non opioid + Adjuvant

2. แบบไม่ใช้ยา - จัดท่าบรรเทาปวด - สัมผัสนุ่มนวล - เบี่ยงเบนความสนใจ - สิ่งแวดล้อมสงบ - ดนตรีบำบัด

ขั้นที่ 3 ประเมินซ้ำ ประเมินอาการปวด - ยา IV 10-15 นาที - ยา IM 30 นาที - ยารับประทาน 60 นาที - ไม่ใช้ยา 30 นาที

ประเมินอาการไม่พึงประสงค์ การรับรู้ลดลง สับสนหรือเพ้อ คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก คัน ปัสสาวะไม่ออก

ปรับยา ขึ้นอยู่กับความตอบสนองต่อยา ปรึกษา Acute pain service

เครื่องมือประเมินความรุนแรงของอาการปวด

Neonatal Infant Pain scale (NIPS) (อายุ 0-1 เดือน)

FLACC scale (อายุ > 1เดือน-3 ปี) ประเภท คะแนน 1 2 ใบหน้า สีหน้าปกติหรือยิ้ม สบตาสนใจสิ่งแวดล้อม หน้าบึ้ง,แยกตัว,ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมบางครั้ง,ขมวดคิ้ว,ตาหลับไม่สนิท,เม้มปาก หน้านิ่วคิ้วขมวดตลอดเวลาหรือบ่อยๆ,กัดฟันแน่น,คางสั่น,หรือหน้าผากย่น,หลับตา,เปิดปาก,จมูกและริมฝีปากเป็นเส้นลึก ขา อยู่ในท่าปกติหรือผ่อนคลาย กระสับกระส่าย.พักไม่ได้,ตึงเครียด,กล้ามเนื้อตึง,เกร็ง,งอหรือเหยียดขาเป็นพักๆ เตะหรืองอขาขึ้น,กล้ามเนื้อตึง,งอหรือเหยียดขามากกว่าปกติ,สั่น การเคลื่อนไหว นอนนิ่งๆท่าปกติ,เคลื่อนไหวร่างกายโดยง่าย และอิสระ บิดตัวไปมา,แอ่นหน้าแอ่นหลัง,ลังเลที่จะขยับตัว ตัวงอ,เกร็งหรือกระตุก,อยู่ในท่าเดิมไม่ขยับตัว,ขยับศีรษะไปมา,โยกตัว,นวดหรือถูตัวไปมา ร้องไห้ ไม่ร้อง/ไม่ครวญคราง(ตื่นหรือหลับ) ครางหรือร้องคร่ำครวญ,ร้องไห้เป็นบางครั้ง,ถอนหายใจ,บ่นปวดเป็นบางครั้ง ร้องไห้ตลอด,หวีดร้อง,ตะเบ็ง,สะอึกสะอื้น,คราง,ตะคอก,บ่นปวดบ่อยๆ การตอบสนองต่อการปลอบโยน สงบนิ่ง ดูมีความสุข ผ่อนคลาย ไม่ต้องการการปลอบโยน ปลอบโยนได้ด้วยการสัมผัสโอบกอดหรือพูดคุย ยากที่จะปลอบโยน การประเมินแต่ละประเภท ใบหน้า ขา การเคลื่อนไหว การปลอบโยน คะแนนอยู่ระหว่าง 0-2 คะแนน

คะแนน 0 ไม่ปวดเลย (Non pain) คะแนน 2 ปวดเล็กน้อย ( Mild pain) Face Pain Scale (FPS) (อายุ 3 ปีขึ้นไป หรือผู้ใหญ่ที่ไม่สามารถบอก ความเจ็บปวดเป็นเลขได้) No pain Mild pain Moderate pain Severe pain Very severe pain Worst possible pain คะแนน 0 ไม่ปวดเลย (Non pain) คะแนน 2 ปวดเล็กน้อย ( Mild pain) คะแนน 4 ปวดปานกลาง (Moderate pain) คะแนน 6 ปวดค่อนข้างมาก ( Severe pain) คะแนน 8 ปวดมาก (Very severe pain) คะแนน 10 ปวดมากที่สุด (Worst possible pain)

Numeric scale 0-10 (อายุ > 8ปี หรือผู้ใหญ่ที่สามารถบอกความเจ็บปวดเป็นตัวเลขได้ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 No pain mild pain Moderate pain worst possible pain คะแนน 0 หมายถึง ไม่ปวดเลย ขยับตัวก็ไม่ปวด คะแนน 1-3 หมายถึง ปวดเล็กน้อยพอทนได้ นอนเฉยๆไม่ ปวด,ขยับแล้วปวดเล็กน้อย คะแนน 4-6 หมายถึง ปวดปานกลาง นอนเฉยๆก็ปวด,ขยับก็ปวด คะแนน 7-10 หมายถึง ปวดมากที่สุดจนทนไม่ได้แม้นอนนิ่งๆ

s = ผู้ป่วยกำลังหลับพักผ่อน สามารถปลุกตื่นได้ไม่ยาก Sedation score 0 = ไม่ง่วงเลย 1 = ง่วงเล็กน้อย นอนหลับๆตื่นๆ ปลุกตื่นง่าย ตอบคำถามได้อย่างรวดเร็ว 2 = ง่วงพอควร ตอบคำถามได้ช้า พูดคุยได้สักครู่ผู้ป่วยจอยากหลับ มากกว่าคุยด้วย หรือมีอาการสัปหงกให้เห็น 3 = ง่วงอย่างมาก ปลุกตื่นยากมากหรือไม่ตื่น ไม่โต้ตอบ s = ผู้ป่วยกำลังหลับพักผ่อน สามารถปลุกตื่นได้ไม่ยาก

Critical-Care Pain Obstruction Tool (CPOT) ประเภท คะแนน 1 2 การแสดงออกทางสีหน้า(Facial expression) ไม่มีความตึงเครียดที่สังเกตได้ตามใบหน้าของผู้ป่วย ใบหน้าแสดงความเครียด เช่น หน้านิ่ว คิ้วขมวด หน้าตาบูดเบี้ยวตาปิดแน่น และการหดตัวของกล้ามเนื้อแก้ม หรือถ้าใส่ท่อช่วยหายใจ ผู้ป่วยอาจกัดท่อช่วยหายใจ การเคลื่อนไหวร่างกาย (Muscle tension) ผู้ป่วยไม่เคลื่อนไหวหรืออยู่ในท่าทางปกติ ผู้ป่วยจะเคลื่อนไหวช้า และระมัดระวัง พยายามที่จะเอื้อมมือไปสัมผัสตำแหน่งที่รู้สึกเจ็บปวด ผู้ป่วยจะกระสับกระส่ายนอนไม่หลับ หรือ การเคลื่อนไหวซ้ำๆ พยายามที่จะดึงท่อหายใจ พยายามที่จะลุกขึ้นนั่งบนเตียง ตำแหน่งที่เจ็บปวด จะมีการเคลื่อนไหวลดลง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tension) ไม่มีการต่อต้านในระหว่างการช่วยผู้ป่วย เคลื่อนไหวหรือพลิกตัว มีการต่อต้านในระหว่างการเคลื่อนไหว หรือเปลี่ยนท่า ผู้ป่วยจะเครียดหรือแข็ง การต่อต้านของผู้ป่วยมีกำลังมากขึ้น ในกรณีดังกล่าวพยาบาลอาจจะไม่สามารถที่ช่วยให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหว ผู้ป่วยโต้ตอบด้วยการต้านแรง หรือกำมือพยาบาล

Critical-Care Pain Obstruction Tool (CPOT) ประเภท คะแนน 1 2 การหายใจตามเครื่องช่วยหายใจ(Compression with the ventilator)(ใส่ท่อหายใจ) การระบายอากาศได้ง่าย ผู้ป่วยไม่ไอ หรือไม่มีสัญญาณเตือนของเครื่องดังขึ้น ผู้ป่วยอาจมีอาการไอหรือ สัญญาณเตือนของเครื่องดังขึ้น แต่หยุดเองโดยไม่ต้องมีพยาบาลเข้าไปแก้ไข ผู้ป่วยจะต่อสู้การใช้เครื่องช่วยหายใจ ในกรณีนี่ผู้ป่วย อาจจะมีอาการไอ และ สัญญาณเตือนของเครื่องดังขึ้นไม่หยุด พยาบาลต้องเข้าไปแก้ไข และพูดคุยกับผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความมั่นใจ หรือใช้การบิหารยาเพื่อให้ผู้ป่วยสงบลง การออกเสียง (Vocalization) (ถอดท่อหายใจ) ตัวตนของเสียง หรือการพูด ของผู้ป่วย ด้วยน้ำเสียง ปกติ จะได้รับเมื่อผู้ป่วยที่มีการ ถอนหายใจ เมื่อ ผู้ป่วยจะร้องไห้ออกมา หรือ ร้องไห้