ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2 ตาม พ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ. ศ ******************* กำหนดให้ อ. ก. พ. กระทรวง เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
การต่อเวลาราชการ 65 ปี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานบริหารงานบุคคล กองการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ความก้าวหน้าของ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ระดับชำนาญการพิเศษ กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

เล่าสู่กันฟัง นโยบายสภาการพยาบาล ความก้าวหน้าตาม นร.148 การกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น ของพยาบาลวิชาชีพ กระทรวงสาธารณสุข โดยไม่ยุบเลิกตำแหน่ง ความก้าวหน้าตาม ว 2

นโยบายสภาการพยาบาล

นโยบายสภาการพยาบาล องค์ประกอบของทีมพยาบาล พนักงานให้การดูแล (Nurses’ aids/ Care giver) ไม่ใช่ทีมกำลังผสมผสานของพยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล (practical Nurse) พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลวิชาชีพเฉพาะทาง (Nurse Specialty) พยาบาลวิชาชีพผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา (Advanced Practice Nurse) 4.1 พยาบาลวิชาชีพผู้เชี่ยวชาญทางคลินิก (APN/CNS) 4.2 พยาบาลวิชาชีพผู้เชี่ยวชาญเวชปฏิบัติชุมชน (APN/NP) 4.3 พยาบาลวิชาชีพผู้เชี่ยวชาญการผดุงครรภ์ (APN/CNM) 4.4 พยาบาลวิชาชีพผู้เชี่ยวชาญการให้ยาระงับความรู้สึก (APN/CNAn.) 5. ผู้บริหารทางการพยาบาล 6. อาจารย์พยาบาล

นโยบายชั่วโมงการทำงานของพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย ประกาศโดยสภาการพยาบาล ความสำคัญของนโยบาย การทำงานต่อเนื่องยาวนานเกิน 12 ชั่วโมงต่อวันของพยาบาล ความผิดพลาด หรือเกือบผิดพลาด ความไม่ปลอดภัยกับผู้ป่วย การเกิดอุบัตเหตุจากการทำงานเพิ่มมากขึ้น ความไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพของพยาบาล พยาบาลเกิดความเหนื่อยหน่าย อยากลาออกจากงาน ผลลัพธ์ของงานลดลง

แนวทางปฏิบัติให้พยาบาลมีเวลาการทำงานที่เหมาะสม ตระหนักว่าการทำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง เป็นเกณฑ์สากล การทำงานล่วงเวลา หรือมากกว่า 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เป็นสิทธิของบุคคล และควรเป็นไปตามความสมัครใจ การจัดตารางการปฏิบัติงาน ต้องคำนึงถึงชั่วโมงรวมของการทำงานของพยาบาล ไม่ควรเกิด 12 ชั่วโมง ใน 1 วัน หรือไม่ควรเกิน 48 ชั่วโมงใน 1 สัปดาห์ ทั้งนี้รวมเวลาทำงานแบบ on call ด้วย ถ้าจำเป็นต้องทำงานเกินกว่าชั่วโมงที่กำหนด จะต้องมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการสนับสนุนให้พยาบาลมีเวลาพักผ่อนอย่างเพียงพอ และควรจัดให้มีเวลาพักระหว่างปฏิบัติงานในแต่ละเวรอย่างเหมาะสม พยาบาลผู้ปฏิบัติงานทุกคน ควรตระหนักถึงความพร้อมด้านร่างกาย และจิตใจของตนเองในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนการตัดสินใจทำงานล่วงเวลา หรือการทำงานต่อเนื่องยาวนานเกิน 12 ชั่วโมงต่อวัน

แนวทางปฏิบัติให้พยาบาลมีเวลาการทำงานที่เหมาะสม (ต่อ) 5. แม้นว่าการทำงานล่วงเวลาเป็นไปตามความสมัครใจของแต่ละบุคคล แต่ผู้บริหารควรคำนึงถึงผลกระทบของชั่วโมงการทำงานต่อเนื่องยาวนานของพยาบาล ที่จะทำให้เกิดความเหนื่อยล้า และความไม่ปลอดภัยต่อผู้ป่วยและพยาบาลผู้ปฏิบัติงานเอง ดังนั้น สถานพยาบาล/ หน่วยงานควรจัดให้มีการประเมินความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ก่อนอนุญาตให้พยาบาลทำงานล่วงเวลา โดยควรหลีกเลี่ยง การจัดตารางการทำงานที่ทำให้พยาบาลต้องทำงาน เกิน 12 ชั่วโมงต่อวัน ติดกันเกิน 3 วัน ใน 1 สัปดาห์ 6. สถานพยาบาล/ หน่วยงาน ต้องจัดระบบสนับสนุนการดูแลสุขภาพของพยาบาล สุขอนามัยการนอนหลับ การจัดการกับความเครียด การจัดการเรื่องอาหารและการออกกำลังกาย รวมทั้งการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีระบบ และทรัพยากรที่เอื้อต่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ 7. สถานพยาบาล/ หน่วยงาน ควรสนับสนุน และส่งเสริมให้พยาบาลเข้าใจ และสามารถพัฒนาคุณภาพการนอนหลับ รวมทั้งสร้างความตระหนักของพยาบาลผู้ปฏิบัติงานต่อความรับผิดชอบที่ต้องจัดเวลาให้มีความสมดุล ทั้งการทำงาน ครอบครัว และการพักผ่อนอย่างเพียงพอ

ความก้าวหน้าตาม นร.148

เสนอหลักเกณฑ์ฯสำหรับพยาบาลสำนักงานปลัดกระทรวง พัฒนาการของหลักเกณฑ์กำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้นของพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข ในช่วง 10 ปี ปี 2554 เสนอหลักเกณฑ์ฯสำหรับพยาบาลสำนักงานปลัดกระทรวง ผ่านความเห็นชอบอกพ.กสธ. เสนอกพ. กพ. เสนอให้จัดทำเกณฑ์ในภาพกสธ. ปี 2556 เสนอหลักเกณฑ์ฯ สำหรับพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข พร้อมเสนอขอไม่ยุบเลิกตำแหน่ง อกพ.กสธ. มีมติให้เสนอกพ.พร้อมกับวิชาชีพอื่น ปี 2558 เสนอหลักเกณฑ์ฯ สำหรับพยาบาลกสธ.โดยไม่เสนอขอไม่ยุบเลิกตำแหน่ง กพ. เสนอเห็นชอบ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558 (หนังสือที่นร. ๑๐๐๘.๓.๓/๑๔๘ ลวท ๑๘ พค. ๒๕๕๘) ดร.ธีรพร สถิรอังกูร กองการพยาบาล

กำหนดเฉพาะสายงานการพยาบาล เป็นงานการพยาบาล หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งที่เกี่ยวข้อง กับความก้าวหน้าของพยาบาล มี 2 เกณฑ์ 1 2 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558 (หนังสือที่นร. ๑๐๐๘.๓.๓/๑๔๘ ลวท ๑๘ พค. ๒๕๕๘) กำหนดเฉพาะสายงานการพยาบาล เป็นงานการพยาบาล กำหนดในตำแหน่งชำนาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญ ต้องยุบเลิกตำแหน่ง ประเมินค่างานเป็นงานการพยาบาล หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งตามหนังสือสำนักงานก.พ.ที่นร 1008/ว2 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 กำหนดตำแหน่งประเภทวิชาการ ในสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นงานวิจัยและพัฒนาไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของการปฏิบัติงานประจำของตำแหน่ง กำหนดในตำแหน่งชำนาญการพิเศษ ไม่ต้องยุบเลิกตำแหน่ง ประเมินค่างานเป็นรายบุคคล ดร.ธีรพร สถิรอังกูร กองการพยาบาล

การกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้นในสายงานการพยาบาล หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558 (หนังสือที่นร. ๑๐๐๘.๓.๓/๑๔๘ ลวท ๑๘ พค.๒๕๕๘) ต้องมีตำแหน่งว่างที่มีเงินมายุบเลิก และผ่านการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่งตามหลักเกณฑ์ที่ก.พ.กำหนด

การกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น ของพยาบาลวิชาชีพ กระทรวงสาธารณสุข โดยไม่ยุบเลิกตำแหน่ง

พยาบาลเป็นวิชาชีพแรกที่ขอ กำหนดตำแหน่งสูงขึ้นโดยไม่ยุบเลิก กระบวนการขอกำหนดตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพกระทรวงสาธารณสุข โดยไม่ยุบเลิก 1 เสนอใน WBM ชพ. 26,165 ตำแหน่ง เห็นชอบ ชพ. 15% ของพยาบาลกสธ. ชช. 799 ตำแหน่ง (จำนวน 12,874 ตำแหน่ง) ชช. 725 ตำแหน่ง เสนอ อกพ.สป. เสนอ อกพ.กสธ. เห็นชอบ ชพ. 6,869 ตำแหน่ง ชช. 725 ตำแหน่ง 2 เสนอกพ. ใช้เกณฑ์ ว.20 เสนอ อกพ.กพ. เห็นชอบ ชพ. 6,869 ตำแหน่ง ชช. ไม่เข้าเกณฑ์ ว. 20 3 ขอกำหนดพยาบาลของสป. 4 เสนอคณะกรรมการกำหนดตำแหน่งระดับสูง เห็นชอบ ชพ. 6,049 ตำแหน่ง เป็นการกำหนดตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน/ หัวหน้าหอผู้ป่วย ในแต่ละขั้นตอนต้องมีเอกสารประกอบคำขออย่างละเอียด และต้องนำเสนอในที่ประชุม ดร.ธีรพร สถิรอังกูร กองการพยาบาล

เงื่อนไขของการขอกำหนดตำแหน่งพยาบาลชพ. โดยไม่ยุบเลิกตามแผนปี 61 ต้องมีการกำหนดตำแหน่งตามแผนปี 60 ให้สมบูรณ์ ก่อน (ครบ 803 ตำแหน่ง) ติดตาม ประเมินผลการคัดเลือกบุคคล 803 ตำแหน่ง โดยไม่มีข้อร้องเรียน รายงานผลการประเมินผลผลิต/ ผลลัพธ์จากการทำงานของพยาบาลชพ. ดังนี้ มีระบบบริการพยาบาลของรพศ./ รพท./ รพช.ให้มีคุณภาพ และสอดคล้องกับ service plan มีระบบการดูแลต่อเนื่องระหว่างรพ.กับรพ. และระหว่างรพ.กับชุมชน มีระบบการจัดบริการพยาบาลเพื่อส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่มวัย องค์กรพยาบาลมีระบบบริหารบุคลากรทางการพยาบาลได้ตามเกณฑ์หลักธรรมมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ผู้บริหารของกสธ.อนุมัติกรอบวงเงินในการกำหนดจำนวนตำแหน่ง ชพ. นำเสนอขอคณะกรรมการกำหนดตำแหน่งระดับสูง

เตรียมความพร้อมก้าวสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น พยาบาลวิชาชีพ รพช. พยาบาลวิชาชีพ รพช. มีลูกน้อง 4 คน ตำแหน่งเลขที่ อยู่ตรงกับงาน/หอผู้ป่วย ปริมาณงานได้ตามเกณฑ์

ความก้าวหน้าตาม ว 2

เครดิต กรมการแพทย์

เคดิต กรมการแพทย์

ตอบปัญหาข้องใจ ??????

สวัสดี