การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มภาษาไทย ภาษาไทยเป็นสมบัติของชาติ ที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ ความสำคัญ.
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
Collaborative problem solving
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
อ.ดร.อุบลวรรณ หงษ์วิทยากร
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
SMS News Distribute Service
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การออกแบบ แผนการสอน (มคอ.3) แบบ COPYRIGHT BY CHITTAKHUP.
หลักการเขียนเกณฑ์การประเมิน(Rubrics)
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การพัฒนาทักษะภาษาไทย ป.๑ – ป.๖
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรู้ การระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นยังเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวชี้วัด การระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วย การเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับ การวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน

กระบวนการ (Process and Skill) มาตรฐานและตัวชี้วัด คุณลักษณะ (Attribute) ความรู้ (Knowledge) กระบวนการ (Process and Skill)

ความรู้ (Knowledge) ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (Factual Knowledge) ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด (Conceptual Knowledge) ความรู้ที่เป็นกระบวนการ (Procedural Knowledge) ความรู้ที่เป็นอภิปัญญา (Meta-cognitive Knowledge) ความรู้ (Knowledge)

คุณลักษณะ (Attribute) คนดี คนเก่ง คนมีความสุข

ทักษะและกระบวนการทำงาน กระบวนการและทักษะ (Process and Skill) ทักษะการสื่อสาร ทักษะและกระบวนการทำงาน ฟัง พูด อ่าน เขียน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ คิดแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การปฏิบัติงาน

ขั้นตอนการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ วิเคราะห์ตัวชี้วัด คำสำคัญ K, P, A กระบวนการ (Process) ภาระงาน ผลงาน (Product)

ตัวอย่างการวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด

คำสำคัญ ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด คำสำคัญ ความรู้ ( Knowledge) คุณลักษณะ (Attribute) ทักษะ (Process and Skill) 1.อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน - อ่านออกเสียง 2.ระบุความแตกต่างของคำที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ระบุ

คำสำคัญ ตัวชี้วัด ความรู้ คุณลักษณะ ทักษะ ( Knowledge) (Attribute) (Process and Skill) 3.ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด ของข้อมูลที่สนับสนุน จากเรื่องที่อ่าน ระบุ - 4.อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน เขียนกรอบแนวคิด 5.วิเคราะห์วิจารณ์ และประเมินเรื่อง ที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีขึ้น วิเคราะห์ ประเมิน วิจารณ์ 6.ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน ประเมิน

คำสำคัญ ตัวชี้วัด ความรู้ คุณลักษณะ ทักษะ ( Knowledge) (Attribute) (Process and Skill) 7.วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง - วิจารณ์ 8.วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์ 9.ตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิด ที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต ตีความประเมิน 10.มีมารยาทในการอ่าน มีมารยาท

การวิเคราะห์งาน(Task) เพื่อการออกแบบการเรียนรู้

ลักษณะของงานที่เหมาะสมกับการประเมินภาคปฏิบัติ 1. บูรณาการระหว่างเนื้อหากับทักษะที่สำคัญ (essential skills) 2. เป็นงานที่มีอยู่จริง (authentic) 3. สามารถประเมินผลการเรียนรู้ได้หลายด้าน (to assess multiple learning targets) 4. สามารถช่วยให้นักเรียนทำได้สำเร็จ (can help students succeed ) 5. เป็นงานที่มีความยืดหยุ่น (feasible)

ลักษณะของงานที่เหมาะสมกับการประเมินภาคปฏิบัติ ต่อ 6. สามารถทำได้หลายวิธี (multiple solutions) 7. มีความชัดเจน (clear) 8. เป็นงานที่ท้าทายและเร้าใจให้นักเรียนทำ (be challenging and stimulating to students) 9. มีเกณฑ์การให้คะแนน (scoring criteria) ที่ชัดเจน 10. ระบุเงื่อนไขความสำเร็จของงานอย่างชัดเจน (Constraints for completing the task)