งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา

2 ทำไมถึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ทำไมถึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 -ด้านเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ -ผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร หลักสูตร 2544 เกิดความไม่ชัดเจน การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน คุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสมารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ทำให้เกิด หลักสูตร2551

3 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
มีจิตสาธารณะ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มุ่งมั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ รักความเป็นไทย มีวินัย อยู่อย่างพอเพียง ใฝ่เรียนรู้

4 จุดประสงค์ของการวัดและประเมินผล
สังเกต ซักถาม ระดมความคิดเห็น การใช้แฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงานที่เน้นการปฏิบัติ การประเมินจากความรู้เดิม ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน และใช้เกณฑ์การให้คะแนน 1.การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน เครื่องมือ/วิธีการ สิ่งสำคัญ คือ การให้ข้อมูลย้อนกลับ -ประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนหรือจบรายวิชาเพื่อตัดสินคะแนน -รับรองความรู้ ความสามารถของผู้เรียนว่าผ่านหรือไม่ สามารถเลื่อนชั้นหรือจบหลักสูตรหรือไม่ 2.การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เครื่องมือ/วิธีการ

5 ระดับการวัดและประเมินผล
การประเมินระดับชั้นเรียน การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา การประเมินระดับชาติ

6 องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความสัมพันธ์
สาระการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่ม การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน คุณภาพผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน

7 ภารกิจของผู้สอนด้านการวัด และประเมินผลการเรียนรู้
กระบวนทัศน์ใหม่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บรรยากาศในชั้นเรียน : แนวคิดที่ต้องเปลี่ยนแปลง เดิม ใหม่ ห้องเรียนที่ยึดการเปรียบเทียบ ผลการเรียนเป็นหลัก โดยเป้าหมายของการวัดและประเมินผล คือการสอบให้คะแนน ห้องเรียนที่มีการเรียนรู้เป็นหัวใจ โดยเป้าหมายหลักของการวัด และประเมินผล คือ การปรับปรุง คุณภาพการสอนและการเรียนรู้

8 ความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การวัด (Measurement) หมายถึง การกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งต่างๆ การประเมิน (Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บข้อมูล ตีความ บันทึกและใช้ข้อมูลจากการทำกิจกรรมของผู้เรียน ว่าผู้เรียน รู้อะไร สามารถทำอะไรได้บ้าง การประเมินค่า/การตัดสิน (Evaluation) หมายถึง การนำเอาข้อมูล ต่างๆ ที่ได้จากการวัดหลาย ๆ อย่างมาเป็นข้อมูลในการตัดสินผลการเรียน เพื่อประเมินการเรียนรู้

9 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom Assessment)
หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินตลอดระยะเวลาของการจัดการเรียนการสอน ผลที่ได้จะเป็นข้อมูลสะท้อนให้ผู้สอนทราบถึงผลการจัดการเรียนการสอนของตน และพัฒนาการของผู้เรียน

10 ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จำแนกตามวิธีการแปลความหมายผลการเรียนรู้ จำแนกตามขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน -การประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่ง -การประเมินเพื่อวินิจฉัย -การประเมินผลย่อย -การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ -การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม -การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์

11 วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล
แบบเป็นทางการ แบบไม่เป็นทางการ *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล ผลการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นรายบุคคล *เป็นประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียน สามารถเข้าใจผู้เรียนได้อย่างลึกซึ้ง *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล ผลการเรียนรู้ *เหมาะสำหรับการประเมิน เพื่อตัดสิน

12 วิธีการที่ใช้ในการประเมิน
แบบไม่เป็นทางการ วิธีการที่ใช้ในการประเมิน *การสังเกตพฤติกรรม *การสอบปากเปล่า *การพูดคุย *การใช้คำถาม *การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ *การประเมินการปฏิบัติ *การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน *การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ *การประเมินด้านความรู้สึกนึกคิด *การประเมินตามสภาพจริง *การประเมินตนเองของผู้เรียน *การประเมินโดยเพื่อน แบบเป็นทางการ * การจัดสอบ * การใช้แบบสอบหรือแบบวัด(Test)

13 หลักฐานการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ (Evidence of Learning)
เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นรูปธรรมว่า มีร่องรอย/หลักฐานใดบ้างที่แสดงถึงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่สัมพันธ์โดยตรง กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ผลผลิต ผลการปฏิบัติ รายงานที่เป็นรูปเล่ม สิ่งประดิษฐ์ แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ การรายงานด้วยวาจา การปฏิบัติตามภาคสนาม การจัดนิทรรศการ ฯลฯ

14 เกณฑ์การประเมิน (Rubrics)
เกณฑ์การประเมิน เป็นแนวทางให้คะแนนที่ประกอบด้วยเกณฑ์ด้านต่าง ๆ เพื่อใช้ประเมินค่าผลการปฏิบัติของผู้เรียนในภาระงาน/ชิ้นงาน สามารถใช้ เป็นเครื่องมือในการสอนโดยให้ผู้เรียนได้รับทราบว่าผู้สอนคาดหวัง อะไรบ้างจากชิ้นงานที่มอบหมาย หรือให้ผู้เรียนร่วมในการสร้างเกณฑ์ก็จะ ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ เกณฑ์การประเมิน ประกอบด้วย *แบบแยกประเด็น (Analytic Rubrics) *เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric)

15 ประเมินสมรรถนะของผู้เรียน
การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนควรใช้วิธีการประเมินที่เน้นการปฏิบัติ และบูรณาการอยู่ในกระบวนการเรียน การสอนแล้ว ไม่ควรแยกประเมินต่างหากอีก แต่ทั้งนี้สถานศึกษาต้องตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญตามที่หลักสูตรกำหนดหรือไม่

16 กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
พุทธิพิสัย จิตพิสัย *ผลการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระ *ผลการเรียนรู้ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน *ผลการเรียนรู้ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ *ผลการเรียนรู้ที่เกิดจากกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ทักษะพิสัย

17 ศึกษา/วิเคราะห์ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จากหลักสูตรสถานศึกษา
- เลือกวิธีการประเมิน สร้าง/จัดหาเครื่องมือ/ เกณฑ์การประเมิน จัดทำโครงสร้างรายวิชา และแผนการประเมิน การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8กลุ่มสาระ ชี้แจงรายละเอียดของแผนการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ประเมิน วิเคราะห์ผู้เรียน สอนซ่อมเสริม การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินความก้าวหน้าระหว่างเรียน ประเมินความสำเร็จหลังเรียน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่ผ่าน ประเมินปลายปี/ภาค สอบแก้ตัวดำเนินการตามระเบียบสถานศึกษา ไม่ผ่าน สอนซ่อม ตัดสินผลการเรียน ส่งผลการเรียน ผ่าน อนุมัติผลการเรียน เรียนซ้ำรายวิชาตามระเบียบสถานศึกษา รายงานผลการเรียนต่อผู้เกี่ยวข้อง

18 The End


ดาวน์โหลด ppt จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google