อสม กับ การพัฒนาสุขภาพในระดับท้องถิ่น ชุมชน
“ในการแก้ปัญหาของบ้านเมืองนั้น ให้ยึดหลักสำคัญ 3 ประการคือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เข้าใจอะไร? เพื่ออะไร ? 1. ปรัชญา แนวคิดอย่างลึกซึ้ง ในงานที่รับผิดชอบ การทำความเข้าใจ ปัญญา ความเชื่อมั่น 1. ปรัชญา แนวคิดอย่างลึกซึ้ง ในงานที่รับผิดชอบ การทำความเข้าใจ การสร้างบทบาทใหม่ 2. กลุ่มเป้าหมาย อย่างลึกซึ้ง ที่พึงประสงค์ การทำความเข้าใจ การสร้างมาตรการสังคม 3. สภาวะแวดล้อม อย่างลึกซึ้ง ที่จำเป็น
เข้าใจแนวคิดของการพัฒนาในปัจจุบัน เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เปรียบกับ เพื่อสนองความต้องการ Strength-based Development Need-based Development (Process-oriented) (Output-oriented) แผนที่ยุทธศาสตร์ ผสมผสาน มองกว้าง มุ่งที่กระบวนการ เป็นการเสริมสร้างพลังจากภายใน ยิ่งทำความสามารถยิ่งเพิ่ม (ระบบพัฒนาสังคม ?) มองแคบ เอาผลงานเป็นหลัก เห็นแต่ปัญหา รวมศูนย์จากภายนอก อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ (ระบบราชการทั่วไป?) ชุมชนเปลี่ยนแปลง สู่ความยั่งยืน เกิดจิตสำนึก พึ่งตนเองได้ คุณภาพชีวิตดี สุขภาพดี เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน เน้นผลงาน ไม่เน้นกระบวนการ
การปรับบทบาท อสม.เป็นนวัตกรสังคม แนวทางใหม่ สร้างบทบาทของประชาชน สร้างกระบวนการของประชาชน สร้างแผนงานโครงการ (อปท/กองทุน) รัฐปรับเจตคติ/บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง แนวทางเดิม สร้างบทบาทของบุคลากร สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร สร้างแผนงานโครงการ บริการประชาชน นวัตกรสังคม นวัตกรสังคม นวัตกรสังคม
เข้าใจประเด็นสุขภาพที่สำคัญวันนี้ ประเด็นสุขภาพตามความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ) การควบคุมป้องกันโรคท้องถิ่น (เอดส์ วัณโรค ไข้เลือดออก ไข้หวัดนก ฯลฯ) การลดปัญหาโรควิถีชีวิต (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็ง) การจัดการพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย (วัยรุ่น กลุ่มอาชีพ แรงงานอพยพฯลฯ) อาหารปลอดภัย (การผลิต การจำหน่ายและการบริโภค)
กลยุทธ์(5+5+10)เพื่อพัฒนางานของท้องถิ่น/ชุมชน 5 ข้อ จากแนวคิดเรื่องการเข้าใจ 1. ศึกษาคนที่เป็นเป้าหมายให้ลึกซึ้ง (จิตสำนึก ศรัทธา กระบวนทัศน์ หลักการของชีวิต ฯลฯ) 2. ศึกษาสภาวะแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 3. สร้างจิตสำนึกทางสุขภาพ เน้นที่พฤติกรรมที่ไม่ควรทำ และควรทำ เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพเป็นเรื่องๆไป 4. ตอกย้ำโดยการรณรงค์ ประชุมเสวนา ใช้เทคนิคสื่อสารฯ 5. จัดเวทีประชุม ทำความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายเป็นประจำ ให้มี ความถี่ที่ เหมาะสม(มากกว่าเดือนละครั้ง)
1. จัดแบ่งผู้คนในความรับผิดชอบออกเป็นกลุ่มต่างๆ 5 ข้อ จากแนวคิดเรื่องการเข้าถึง 1. จัดแบ่งผู้คนในความรับผิดชอบออกเป็นกลุ่มต่างๆ 2. สร้างวิธีเข้าถึงผู้ที่มีหรือเสี่ยงต่อการมีปัญหาทางสุขภาพ 3. ค้นหาคนที่จะช่วยแกนนำ (อสม) แก้ปัญหาให้พบ จัดตั้ง ฝึกอบรมมอบหมายหน้าที่ 4. สร้างเครือข่ายให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน 5. สร้างศูนย์ข้อมูลทางสุขภาพ สร้างเส้นทางข้อมูลข่าวสารใหม่ที่ เป็นอิสระ
แนวคิดของการจัดระบบการสื่อสาร เป้าหมาย ผู้ส่งสาร/ต้นสาร สื่อชาวบ้าน แกนนำ สมาชิกในครอบครัว วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว ทางด่วนข้อมูล ทางด่วนข้อมูล แหล่งข้อมูล อินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต
10 ข้อ จากแนวคิดเรื่องการพัฒนา 1. สร้างความเข้มแข็งทางใจ (จิตสำนึก ศรัทธา ความรัก สามัคคี) 2. ให้โอกาสรับ เรียนรู้ ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ 3. ให้โอกาสเพิ่ม ฝึกฝนทักษะ ให้ประสบการณ์ตรง 4. สร้างกลุ่ม เครือข่ายเพื่อสนับสนุนซึ่งกันและกัน 5. สร้างความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับรากหญ้า
ทำการรณรงค์ทางสุขภาพต่างๆ สร้างระบบสนับสนุนที่เหมาะสมเช่นเครือข่ายการสื่อสาร แหล่งทุนทางเศรษฐกิจและสังคม บริการสุขภาพฯลฯ สร้างข้อสัญญาหรือข้อตกลงร่วมกัน ติดตาม สนับสนุนการปฏิบัติตามพันธะนั้นๆ สร้างข้อบังคับ ระเบียบชุมชนตามข้อตกลง สร้างจุดเปรียบเทียบ (Benchmark) เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายเครือข่าย
กลยุทธ์ (5+5+10) ข้อที่กล่าวแล้ว เป็น มาตรการทางสังคม ซึ่ง อสม กลยุทธ์ (5+5+10) ข้อที่กล่าวแล้ว เป็น มาตรการทางสังคม ซึ่ง อสม.ที่เป็นนวัตกรสังคมจะเป็นผู้มีบทบาทในการสร้างและใช้ในระดับชุมชน ควบคู่ไปกับการใช้มาตรการทางวิชาการโดยบุคลากรสาธารณสุข
การปรับบทบาทของ อสม. 1.กลุ่มเป้าหมาย 2. บุคลากรสาธารณสุข 3. มาตรการ 4. สภาวะแวดล้อม มาตรการทางเทคนิควิชาการ มาตรการทางสังคม นวัตกรรม DHB ปัญหา บทบาท อสม (นวัตกรสังคม)ฝ่ายสื่อสาร บทบาท อสม (นวัตกรสังคม)ฝ่ายพัฒนานวัตกรรม ปัญหา สถาบันฯ 11 12 13 14 ตัวกำหนดบทบาทท้องถิ่น/ชุมชน ตัวกำหนดบทบาทบุคลากรสาธารณสุข
ส วั ส ดี