การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน ทิศทางการขับเคลื่อน ศส.ปชต. ให้มีความยั่งยืน
กิจกรรมชุมนุมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมให้มีการพบปะพูดคุย เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน ของ กรรมการ ศส.ปชต. ในพื้นที่ เพื่อรวบรวมความคิดเห็น อาทิ บทเรียนความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค ไปวางแผนและกำหนดทิศทางการขับเคลื่อน ศส.ปชต.ให้มีความยั่งยืน 2.เพื่อชี้แจงและประชาสัมพันธ์กิจกรรมการประกวด ศส.ปชต.ดีเด่น ระดับจังหวัด (พัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. ให้เป็น ศส.ปชต. ที่ได้มาตรฐาน สามารถเป็นต้นแบบการเรียนรู้และขยายผลต่อไปได้)
รูปแบบการชุมนุมเสวนา จัดแบ่งผู้ร่วมเสวนาออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 สีขาว กลุ่มที่ 2 สีฟ้า กลุ่มที่ 1-3 ห้องแกรนด์ บอลล์รูม กลุ่มที่ 3 สีชมพู กลุ่มที่ 4 สีเหลือง ห้องบาหลี 1 กลุ่มที่ 5 สีเขียวอ่อน ห้องบาหลี 2
รูปแบบการชุมนุมเสวนา
รูปแบบชุมนุมเสวนา ทุกคนจะได้รับกระดาษ 5 ชุดสีๆละ 2 แผ่น รวม 10 แผ่น ใช้สำหรับเขียนปัญหา และเขียนข้อเสนอแนะหรือความเห็นใน 5 ประเด็น ใบแรก ใช้เขียนปัญหา ใบที่สอง ใช้เขียนข้อเสนอแนะ แผ่นที่ 1 ปัญหา แผ่นที่ 2 ข้อเสนอแนะ
รูปแบบการชุมนุมเสวนา
1.กิจกรรม - การประชุมเพื่อจัดทำแผนขับเคลื่อน - ผลงานของคณะกรรมการ ศส.ปชต. - เผยแพร่ให้ความรู้ - ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายอื่น
2.กลุ่ม - แสวงหาสมาชิก/เครือข่ายใหม่ - สมาชิกช่วยกัน/ร่วมกันทำงาน - สมาชิก/เครือข่าย เขาร่วมประชุมวางแผน เสนอแนะ/ความเห็น เพื่อการขับเคลื่อนภารกิจ
3.กรรมการ - ความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ - ความรับผิดชอบ - เวลาในการทำงาน - การถ่ายทอดความรู้ - การทำงานร่วมกัน - การประสานงาน
4.กฎ/กติกา - การส่งเสริมการสร้างกติกา ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันของคนในชุมชน - ประกาศให้สมาชิกรับรู้กติกา - การยอมรับ และปฏิบัติตามกฎ - กก.ศส.ปชต. เป็นแบบอย่างที่ดี
5.กองทุน - งบประมาณ - การสนับสนุนกองทุน/จัดหาทุนจากกองทุน/หน่วยงานอื่น มาใช้ในการดำเนินงาน