กลุ่มที่ 6 อนามัยสิ่งแวดล้อม
ประเด็นนำเสนอ สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 1 ปัญหา/อุปสรรคที่พบ และการแก้ไขปัญหา ประเด็นนำเสนอ ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ รอบที่ 1 เพื่อนำมาสู่ Intervention/ Innovation ประเด็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สำคัญ
ผลสรุปการนิเทศงานคณะที่ 4 หัวข้อ 4.2 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2559 รอบที่ 1 ประเด็นการตรวจนิเทศ : จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุน การจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ให้ถูกต้องตามกฎหมาย และมีระบบ และกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยทั่วไปขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้ถูกหลักสุขาภิบาล
สิ่งที่น่าสนใจ สถานการณ์ จากข้อมูล 9 เขต 59 จังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดมีฐานข้อมูล ทั้งในเรื่องมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อแล้ว 39 จังหวัดมีฐานข้อมูล เรื่องขยะติดเชื้อครบถ้วน ตามแบบข้อมูลของกรม 14 จังหวัดมีฐานข้อมูล เรื่องมูลฝอยทั่วไปครบถ้วน ตามแบบข้อมูลของกรม โรงพยาบาลแม่ข่ายแสดง บทบาทที่สำคัญในการเชื่อม ประสานการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อให้กับระบบบริการ ที่มีอยู่ในพื้นที่ ส่วนใหญ่ใช้เอกชนขนส่งและ กำจัด อาจพลิกผันกลับไปสู่ การจัดการโดยท้องถิ่นหรือ แหล่งกำเนิดมูลฝอยติดเชื้อเอง รพ.สต.หลายแห่งได้พัฒนา รูปแบบการขนส่งไปยังแม่ข่าย และรูปแบบของที่พักมูลฝอยติด เชื้อ สถานการณ์
บทบาท อสธจ. EHA เทศบาลใน 59 จังหวัด มี 1,980 แห่ง พบว่า อสธจ. 36 จังหวัด มีมติขับเคลื่อน เรื่องมูลฝอยทั่วไปหรือมูลฝอยติดเชื้อ อสธจ. 30 จังหวัดมีมติผลักดัน การขับเคลื่อนเรื่องมูลฝอยติดเชื้อ (50.8%) อสธจ. 29 จังหวัดมีมติผลักดัน การขับเคลื่อนเรื่องมูลฝอยทั่วไป (49.2%) 53 จังหวัด มีแผนการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อที่ชัดเจน (89.8%) เทศบาลใน 59 จังหวัด มี 1,980 แห่ง ได้รับการประเมินผ่าน EHA 4001 จำนวน 436 แห่ง ประเมินแล้วไม่ผ่าน EHA 4001 จำนวน 440 แห่ง เทศบาลที่ยังไม่ถูกประเมิน 1,104 แห่ง
การตรวจนิเทศงาน สถานการณ์ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) มีมติและการติดตามมติจากที่ประชุม อสธจ.เพื่อขับเคลื่อน ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 2 เรื่อง 53 จังหวัด มีแผนการจัดประชุม 3 ครั้งขึ้นไป (6 จังหวัดมีแผน 2 ครั้ง) เริ่มจัดประชุมไปแล้ว 35 จังหวัด(ประมาณ 60%) (เหลือ24 จังหวัดยังไม่ได้ประชุม) สถานการณ์
ประเด็นที่เข้าสู่วาระ อสธจ. บ่อยครั้งที่สุด : การจัดการมูลฝอยทั่วไป เน้นไปที่การจัดการขยะต้นทาง การคัดแยกขยะ การลดปริมาณขยะ การจัดการ ขยะชุมชน เป็นต้น รองลงมา : การจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยติดเชื้อ การพัฒนาระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น (EHA) การออกข้อกำหนด ท้องถิ่น และการบังคับใช้กฎหมาย ประเด็นอาหารปลอดภัย การพัฒนา ตลาดทั้ง 2 ประเภท การลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ส้วม สาธารณะ การจัดทำข้อมูลสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหาเรื่อง เหตุรำคาญ ประเด็นเฉพาะพื้นที่ เช่น ปัญหาขยะอิเลคทรอนิกส์ ปัญหาการใช้เครื่องทำ น้ำอุ่นด้วยแก๊ส ปัญหาฝุ่นละอองและหมอกควันในอากาศ การคัดเลือกถนนอาหาร ปลอดภัย และการพัฒนาระบบประปาดื่มได้ การกำหนดแผนแม่บทด้าน การจัดการสิ่งแวดล้อมของจังหวัด ประเด็นการป้องกันโรคและปัญหาสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม เช่น การ ป้องกันไข้เลือดออก การป้องกันโรคมือเท้าปาก การป้องกันโรคมะเร็งตับ การ ป้องกันอุบัติเหตุจราจร เป็นต้น
มูลฝอยติดเชื้อ ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา รพ. คุณภาพการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อ ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2545 (7 ด้าน) ไม่ได้ 100% ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไม่มีเครื่องหมาย และสัญลักษณ์ สถานที่พักมูลฝอยรวม ลักษณะอาคารไม่ได้ตาม มาตรฐาน การกำกับติดตามการกำจัด บริษัทที่รับเก็บขน สถานที่กำจัดไม่เพียงพอ (เพิ่มยาก ชาวบ้านต่อต้าน) อปท. ยังขาดความเข้าใจในหน้าที่ในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ถุงล้างไตที่มีการนำมารีไซเคิล การแก้ไขปัญหา นำเสนอข้อมูลผ่าน อสธจ. จังหวัดดำเนินการจัดซื้อในภาพรวม/สกรีน เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ลงในภาชนะ นิเทศ ติดตาม ให้คำแนะนำ สนับสนุนการใช้ Manifest ในการกำกับติดตามให้เก็บขน เพิ่มศักยภาพของเตาเผา อปท. ที่มีอยู่ให้สามารถดำเนินการได้ ปรับปรุงเตาเผา ของ รพ. ที่มีอยู่ ให้สามารถเผาขยะได้ ส่งเสริม อปท. ประเมิน EHA 400/และเร่งรัดการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น จัดทำคู่มือ และแนวทางการจัดการ
ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ มูลฝอยติดเชื้อ จ.กาฬสินธุ์ มีการบริหารจัดการ ทั้งงบประมาณ และวิธีการ จ.นนทบุรี กำจัดโดย อปท. จ.ปทุมธานี จัดการได้ครอบคลุมทุกแหล่ง (คลินิก) จ.อ่างทอง กำหนดเป็นตัวชี้วัดจังหวัด ให้จัดอบรมผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ จ.สตูล ฟื้นฟูเตาเผาของ รพ. และซื้อรถเพื่อรวบรวม ขนส่งขยะไปเผา ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ กรมอนามัยจัดทำทะเบียน/เรียงลำดับบริษัทเก็บขนที่มีประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบ manifest ให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาการประเมินคุณภาพการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อเป็นระบบออนไลน์ ส่งเสริม/มีนโยบาย ให้กำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ณ แหล่งกำเนิดให้มากที่สุด ส่งเสริมศักยภาพของเตาเผาขยะของ อปท. ที่มีอยู่ให้สามารถให้บริการได้นาน และมีประสิทธิภาพ (ฟื้นฟูเตาเผาเดิมที่มีอยู่) ประสานชมรม IC บรรจุในกฎกระทรวง (ลงในหลักการ) ข้อเสนอเชิงนโยบาย
อสธจ. : คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด เลขาฯ อสธจ. ไม่ค่อยให้ความสำคัญต่อการประชุม อสธจ. การขับเคลื่อนมติยังไม่เข้มข้น ผู้ช่วยเลขา อสธจ. ยังไม่สามารถนำเสนอประเด็นสู่ อสธจ. อสธจ. เป็นผู้แทนมากกว่าตัวจริง ทำให้การเสนอข้อคิดเห็น และมติไม่เด็ดขาด ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา กรมอนามัย ควรนำเสนอให้ผู้บริหารกระทรวงกำชับ/ศูนย์ฯ สร้างความเข้าใจกับผู้บริหาร พัฒนาศักยภาพของผู้ช่วยเลขา ในการเตรียมข้อมูล/วาระการประชุม โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างจังหวัด สร้างทีมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนและติดตามมติจากหน่วยงานอื่นร่วมเป็นทีม ผู้ช่วยเลขา ควรเสนอข้อมูลที่ให้หน่วยงานอื่นๆ มีส่วนร่วมในการประชุม สร้างกลไกการขับเคลื่อนทุกระดับ (อำเภอ ตำบล)
อสธจ. : คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ จ.สกลนคร, ยโสธร, นครพนม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและขับเคลื่อนมติ พัฒนาทีมเลขา อสธจ. เพื่อขับเคลื่อนงานได้ตามมติ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพของ การดำเนินงานของ อสธจ. ข้อเสนอเชิงนโยบาย
EHA : การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accreditation) ท้องถิ่นจังหวัดยังไม่มีความเข้าใจเรื่อง EHA อปท. สมัครช้า ไม่ทันตามกำหนด (15 เม.ย. 59) ผู้ตรวจประเมิน EHA ไม่เพียงพอ ใบสมัคร EHA ของกรม ในเว็บไซต์ สร้างความสับสน ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา เชิญท้องถิ่นจังหวัดมาเป็นวิทยากร ท้องถิ่นจังหวัดกับการสนับสนุน EHA เชิญท้องถิ่นจังหวัด, อำเภอ เป็นทีมตรวจประเมิน พัฒนาผู้ประเมินให้ครอบคลุมจังหวัด (จังหวัดใหญ่ จำนวน Instructor ให้มากขึ้น) หรือใช้ทีม Instructor ของจังหวัดภายในเขต (เพื่อนช่วยเพื่อน) ปรับใบสมัครใหม่ให้สอดคล้องกับข้อตกลงของการประเมิน (ส่งใบสมัคร ที่ สสจ.)
ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ EHA : การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accreditation) หลายจังหวัดผลักดัน EHA เข้าในมติของ อสธจ. เช่น อุบลราชธานี, ศรีษะเกษ, สกลนคร, นครพนม จังหวัดสกลนครกำหนดเป็นตัวชี้วัดของผู้ว่าราชการจังหวัดในการจัดการขยะ ทุกหมู่บ้านมีธนาคารขยะ และมีการติดตามผ่านกรรมการจังหวัด, สาธารณสุขอำเภอ ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ อบรมผู้ประเมินให้เร็วขึ้น ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้เร็วขึ้น ปรับแบบประเมิน EHA ให้เหมาะสม ข้อเสนอเชิงนโยบาย
สิ่งปฏิกูล การแก้ไขปัญหา ปัญหา/อุปสรรค พัฒนารูปแบบการจัดการสิ่งปฏิกูล ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น บ่อทรายกรอง อบรมให้ความรู้แก่ อปท. และ ผู้ประกอบการ ในเรื่องการจัดการ ส่งเสริมการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น ผลักดันผ่าน อสธจ. ให้ อปท. สร้าง ระบบบำบัด รูปแบบการจัดการสิ่งปฏิกูล ที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ มีน้อย ราคาสูง และการจัดการ ค่อนข้างยาก ผู้ประกอบการ /อปท. รถสูบส้วม ขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง การจัดการสิ่งปฏิกูล ไม่มีที่กำจัดสิ่งปฏิกูล ที่ถูกสุขลักษณะ ปัญหา/อุปสรรค
ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ สิ่งปฏิกูล จังหวัดที่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ครบทุกอำเภอ (สกลนคร) ผู้ประกอบการ เสนอให้ อปท. ทุกแห่งมีสถานที่กำจัดสิ่งปฏิกูล ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ จัดทำ/พัฒนาระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ที่เหมาะสมกับพื้นที่และงบประมาณ ที่ อปท. สามารถดำเนินการได้ ผลักดันผ่าน อสธจ. ข้อเสนอเชิงนโยบาย
สวัสดี