รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 กรกฏาคม 2560
เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการบริหารงบประมาณและการเงินการคลัง เรื่องเพื่อทราบ 1. หนังสือตอบข้อหารือฯ จาก สป. เรื่องการขออนุมัติจ่ายเงิน บำรุงของหน่วยบริการเป็นกรณีพิเศษ ไม่สามารถอนุมัติให้ สสจ.ชม. ดำเนินการเกี่ยวกับเงินบำรุง ของหน่วยบริการ : 1. การเป็นClearing House 2. การจัดการค่าใช้จ่าย นักเรียนทุนฯ
เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการบริหารงบประมาณและการเงินการคลัง เรื่องเพื่อพิจารณา 1. การสนับสนุนทุน นศ.พยาบาล วพบ.แพร่ ประจำปี การศึกษา 2560 22 คน - คชจ./คน = 30,000 บาท ข้อเสนอ: 1.ให้กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ สสจ.ชม. รวบรวมข้อมูล นร.ทุน ประจำปีการศึกษา 2560 จาก วพบ.ทุกแห่ง/ทุกระดับชั้นปี เพื่อนำมาพิจารณาจัดสรรโควตาให้หน่วยบริการ ก่อนพิจารณา เรื่องแหล่งเงินที่จะสนับสนุนฯ 2. สำหรับปีการศึกษา 2561 ควรแจ้งให้ นร.ทราบ ผ่านทาง วพบ.ทุกแห่ง เกี่ยวกับความไม่ แน่นอนในการสนับสนุนทุนฯ เพื่อให้ นร.ฯได้เตรียมการเรื่อง คชจ. ชั้นปีที่ จำนวนคน รวมเป็นเงิน 2 12 360,000 3 10 300,000 รวม 22 660,000
เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการบริหารงบประมาณและการเงินการคลัง เรื่องเพื่อพิจารณา 2. รพ.สันป่าตองขอรับการสนับสนุนงบ เพื่อจัดบริการให้ Pt. ที่รักษาด้วยเคมีบำบัด รายการ จำนวนเงิน 1.ค่าปรับปรุงห้องให้การพยาบาล Pt.เคมีบำบัด 46,230 2.ครุภัณฑ์ (ตู้ผสมยา 2 ลบ. / ปรับปรุงห้องเตรียมยา 8 แสนบาท) 2,800,000 3.ค่าครุภัณฑ์และอุปกรณ์อื่น 908,900 รวม 3,755,130 ข้อเสนอ/ประเด็นพิจารณา: ให้ กก.Service plan สาขามะเร็ง พิจารณาดำเนินการ 1. จัดบริการฯจากเล็กไปใหญ่ โดยเริ่มจาก 1-2 เตียง 2. ทยอยส่งPt.ไปรับบริการ 3. ใช้ที่ผสมยาของ รพ.นครพิงค์ไปก่อน
1.กำหนดอัตราใหม่ ดังตารางฯ 2.ให้จังหวัดทำหนังสือหารือ สป. ในข้อ(1) เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการบริหารงบประมาณและการเงินการคลัง เรื่องเพื่อพิจารณา 3. หลักเกณฑ์/ แนวทางการดำเนินงานประกันสุขภาพฯ ต่างด้าว ปี 2561 ข้อเสนอ/ประเด็นพิจารณา : 1.กำหนดอัตราใหม่ ดังตารางฯ 2.ให้จังหวัดทำหนังสือหารือ สป. ในข้อ(1)
หลักเกณฑ์และแนวทางการดำเนินงานประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว ปี 2561 หัวข้อ แนวทางเดิม แนวทางใหม่ พื้นที่ดำเนินการ -ตรวจสุขภาพ และขายบัตรฯ อ้างอิงตามCatchment Area ของ สปสช. คือ 1.ให้แรงงานต่างด้าวตรวจสุขภาพและซื้อประกันฯที่ รพ.ประจำอำเภอ ที่อยู่ในพื้นที่ตามที่อยู่ของนายจ้าง หรือ ตามที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่ ตามโควตาที่นายจ้างขอไว้กับจัดหางาน 2.กรณีเขตเมือง : รพ.นครพิงค์ สันทราย สารภี หางดง -เหมือนเดิม ทั้งข้อ(1) และ(2) โดยใช้หลักการ อ้างอิงตามพื้นที่รับผิดชอบ (Catchment Area) ของ สปสช. หลักเกณฑ์ การเข้ารับบริการ ใช้บริการ ณ รพ.ที่ระบุในบัตร * หากจำเป็น ไป รพช. ทุกแห่งได้ โดยไม่ต้องมีใบrefer *กรณีไป รพ.นครพิงค์ สามารถใช้บริการได้ ดังนี้ 1.รพ.นครพิงค์ เป็น รพ.ที่ระบุในบัตร 2.มีใบส่งตัวจาก รพ.ที่รักษา ให้ใช้บริการ ณ รพ.ที่ระบุในบัตรเท่านั้น ยกเว้น 1.กรณีส่งต่อ 2.อุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน
หัวข้อ แนวทางเดิม แนวทางใหม่ อัตราค่าบริการทางการแพทย์ ภายในจังหวัด 1.กรณีผู้ป่วยนอก : จ่ายตามจริง กรณีการส่งต่อ: จ่ายตามอัตราที่กระทรวงกำหนด คือ -รัฐ ในและนอกสังกัดกระทรวงฯ :จ่ายตามจริงไม่เกิน 700 บาท -เอกชน : จ่ายตามจริง กรณีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน จ่ายตามอัตราที่กระทรวงกำหนด -รัฐในสังกัดกระทรวงฯ :จ่ายตามจริงไม่เกิน 700 บาท -เอกชน/รัฐนอกสังกัดกระทรวงฯ : จ่ายตามจริง ** เงื่อนไข กรณีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ให้เป็นไปตามที่กำหนด** 2.กรณีผู้ป่วยใน ที่ไม่ใช่HC : จ่ายตามจริง จ่ายตามDRGที่กระทรวงกำหนด (10,300 บาท/Adjrw) 3.กรณีส่งเสริมสุขภาพ ในสถานบริการ:จ่ายตาม PP list UC อัตราเดิม 4.CT-MRI-Angiogram :จ่ายตามUC อัตราเดิม
อัตราค่าบริการทางการแพทย์ ต่างจังหวัด หัวข้อ แนวทางเดิม แนวทางใหม่ อัตราค่าบริการทางการแพทย์ ต่างจังหวัด 5.กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน/การส่งต่อ ต่างจังหวัด -เอกชน และภาครัฐ ในและนอกโครงการ : จ่ายตามจริงทั้ง OP/IP กรณีการส่งต่อ: จ่ายตามกระทรวงฯกำหนด 1.เอกชน : จ่ายตามจริง ทั้ง OP/IP 2.รัฐนอกสังกัดกระทรวงฯ - OP : จ่ายตามจริง ไม่เกิน 700 บาท - IP :จ่ายตามDRGที่กระทรวงกำหนด (10,300 บาท/Adjrw) 3.รัฐในสังกัดกระทรวงฯ : จ่ายตามที่กระทรวงฯกำหนด - OP : จ่ายตามจริงไม่เกิน 700 บาท - IP :จ่ายตามDRGที่กระทรวงกำหนด(10,300 บาท/Adjrw) กรณีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 1.เอกชน : ไม่สามารถใช้บริการได้ 2.รัฐนอกสังกัดกระทรวงฯ ที่เข้าร่วมโครงการ - OP : จ่ายตามจริง ** เงื่อนไข กรณีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ให้เป็นไปตามที่กำหนด**
เงื่อนไข กรณีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ผู้ป่วยฉุกเฉิน เป็นภาวะที่ต้องการการช่วยเหลือโดยเร็ว รอได้บ้างแต่ไม่นาน เป็นภาวะที่หาก ปล่อยทิ้งไว้ ไม่ให้การรักษาพยาบาลอย่างถูกต้อง ก็อาจทำให้สูญเสียชีวิต หรือพิการได้ภายใน เวลาไม่กี่ชั่วโมง ผู้ป่วยประเภทนี้จะมีอาการหรืออาการแสดงอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ได้แก่ 1.หายใจ ช้ากว่า 10 หรือเร็วกว่า 30ครั้ง/นาที หายใจลำบากหรือหายใจเหนื่อยหอบ 2.ชีพจร ช้ากว่า 40 หรือเร็วกว่า 150 ครั้ง/นาที โดยเฉพาะถ้าร่วมกับลักษณะทางคลินิกข้ออื่น 3.ไม่รู้สึกตัว ชัก อัมพาตหรือตาบอด หูหนวกทันที 4.ตกเลือด ซีดมาก หรือเขียว 5.เจ็บปวดมากหรือทุรนทุราย 6.มือเท้าเย็นซีด และเหงื่อแตก ร่วมกับลักษณะทางคลินิกข้ออื่น
เงื่อนไข กรณีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 7.ความดันโลหิตตัวบนต่ำกว่า 90 มม.ปรอท หรือตัวล่างสูงกว่า 130 มม.ปรอท โดยเฉพาะร่วมกับลักษณะทางคลินิกข้ออื่น 8.อุณหภูมิร่างกาย ต่ำกว่า 35 ◦C หรือสูงกว่า 40 ◦C โดยเฉพาะร่วมกับลักษณะทางคลินิก ข้ออื่น 9.ถูกพิษ หรือDrug overuse 10.ได้รับอุบัติเหตุ โดยเฉพาะบาดแผลที่ใหญ่มากและมีหลายแห่งเช่นmajor multiple fracture , Burns , Back injury with or without spinal cord manage 11.ภาวะจิตเวชฉุกเฉิน 12.เป็นภาวะที่ผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องพึ่งการให้บริการหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน แต่ ต้องได้รับการตรวจรักษาโดยการส่งต่อไปตรวจ ณ แผนกผู้ป่วยนอก หรือจัดลำดับ ความสำคัญในการรักษาเป็นลำดับสุดท้าย
หัวข้อ แนวทางเดิม แนวทางใหม่ การส่งข้อมูล Claim ให้จังหวัด ส่งทุกราย ส่งเฉพาะการรักษาต่าง MAIN ไปที่จังหวัด ทั้งในและนอกจังหวัด ระยะเวลา การใช้อัตราฯ - เริ่ม 1 ตุลาคม 2560 (ปีงบ 2561)
เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างร่วม เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างร่วม มูลค่าการจัดซื้อเวชภัณฑ์ร่วมเทียบกับมูลค่าการจัดซื้อเวชภัณฑ์ทั้งหมด [2560] รายการ ซื้อร่วม (บาท) ซื้อทั้งหมด (บาท) (%)ซื้อร่วม ยา 146,475,996.04 556,219,538.76 26.33 เภสัช 5,360,853.31 10,417,495.73 51.46 การแพทย์ ทันตกรรม 5,972,181.09 9,235,343.86 64.67 ชันสูตร 42,700,802.44 134,499,523.63 31.75 เอ็กซเรย์ 2,074,822.48 2,190,422.55 94.72
เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างร่วม เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างร่วม เวชภัณฑ์ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา
รายงานความคืบหน้าของระบบ CMBIS เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศ รายงานความคืบหน้าของระบบ CMBIS จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมิน ADL จำนวนผู้ป่วยสุขภาพจิต (การเข้าถึงบริการ)
ดำเนินการจัดทำตัวชี้วัดเพิ่มเติม วันที่ 14-15 สิงหาคม 2560 เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศ ดำเนินการจัดทำตัวชี้วัดเพิ่มเติม วันที่ 14-15 สิงหาคม 2560 -ร้อยละผู้ป่วย DM,HT ได้รับการค้นหา และคัดกรองโรคไตเรื้อรัง (80%) -ร้อยละของผู้ป่วยผู้ป่วย DM,HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด (CVD Risk) -ร้อยละผู้ป่วยโรคไตมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr (50%) -ร้อยละการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในCUP(90%) -ร้อยละของเด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน สงสัยล่าช้าต้องได้รับการส่งเสริม/กระตุ้น ภายใน 1 เดือน (100%) -ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี(51%) -อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี(42%) -อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่(2.5%) -อัตราผู้ป่วยความเบาหวานรายใหม่(5%)
การติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ เรื่องสืบเนื่อง : คณะทำงานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศ การติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ วันที่นิเทศ พื้นที่รับการนิเทศ สถานที่รับการนิเทศ 15 สิงหาคม 2560 อำเภอสันกำแพง โรงพยาบาลสันกำแพง 17 สิงหาคม 2560 อำเภอแม่แตง โรงพยาบาลแม่แตง 23 สิงหาคม 2560 อำเภอเชียงดาว โรงพยาบาลเชียงดาว 24 สิงหาคม 2560 อำเภอเวียงแหง โรงพยาบาลเวียงแหง 29 - 30 สิงหาคม 2560 อำเภออมก๋อย โรงพยาบาลอมก๋อย