กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายแยกตามยุทธศาสตร์ ปี 2559 คบสจ. รวมคบสจ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 รวม ค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ 18,180,2062,202,89623,521,07543,904,177.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด (Non Communicable Disease Control, Mental health, habit-forming drug Group) นายเจริญ สิทธิโรจน์ หัวหน้ากลุ่มงาน พัชรี วีรพันธุ์ นวกสาธารณสุขชำนาญการ อำพนพินิจ เศรษฐสมพงศ์ นวก.สาธารณสุขชำนาญการ วันเพ็ญ โพธิยอด นวก.สาธารณสุขชำนาญการ จรวยพร ธรรมน้อย จพง.สาธารณสุขชำนาญการ จริญ จินาเดช นวก.สาธารณสุขชำนาญการ ศิริพร อูปแปง นักวิชาการสาธารณสุข สคราญโฉม อุปละ นักจัดการงานทั่วไป 1.งานบริหารจัดการการป้องกันและบำบัดยาเสพติด 2.งานค้นคว้า วิจัยที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 3.งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1.งานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด (to be number one) 2.งานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์-ยาสูบ 3. งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1.งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ(มะเร็ง,เบาหวาน,ความดันฯ,ไต 2.งานคลินิก DPAC 3.งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1.งานการแพทย์ฉุกเฉิน 2.งานป้องกัน/ลดอุบัติเหตุทางถนน 2.งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1.งานการแพทย์ฉุกเฉิน 2.งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 3.การบริหารจัดการงบประมาณEMS 3.ดูแลการขึ้นทะเบียนหน่วยปฎิบัติการฯ 4.งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1.งานสุขภาพจิตและจิตเวช 2.งานศูนย์พึ่งได้(ผู้กระทำความรุนแรงและตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 3.งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1.งานบันทึกข้อมูลบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 2.งานขึ้นทะเบียนหน่วยกู้ชีพและอาสาสมัครกู้ชีพ 3.งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย

ตัวชี้วัดกลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด ปี 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (PP&P Excellence) แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ เป้าหมาย 5 เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 ร้อยละ 60 แผนงานที่ 3 : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 14 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงาน ได้จริง ร้อยละ 85 17 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี < 4.5 ต่อแสนประชากร 18 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน 19 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวานไม่เกินร้อยละ 2.40 อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยความดัน โลหิตสูงได้รับการวัดBPที่บ้าน ≥ร้อยละ 10 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : มี 5 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดกลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด ปี 2561(ต่อ) 2. ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ เป้าหมาย 34 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ≥ร้อยละ 55 35 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ≤ 6.3 ต่อประชากรแสนคน 46 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการบําบัดรักษา และ หยุดเสพต่อเนื่อง (remission) ร้อยละ 70 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : มี 3 ตัวชี้วัด 3. ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) แผนงานที่ 10 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ เป้าหมาย 71 ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ร้อยละ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : มี 1 ตัวชี้วัด

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานบริหารจัดการการป้องกันและบำบัดยาเสพติด ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1.ค้นหาและนำผู้เสพเข้าบำบัด 2.ตรวจยืนยันปัสสาวะขั้นที่ 2 -ศูนย์เพื่อการคัดกรองระดับอำเภอ (คสช 108) -รพ.ท. / รพ.ช. ทุกแห่ง -ห้องปฏิบัติการ ** 3.บำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ -สมัครใจ 479 คน -บังคับ ไม่ควบคุมตัว 247 คน -ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -พนง.จนท.พรบ. 2545 ( รพ.) -วิทยากรกระบวนการ 4.ติดตามผู้ผ่านการบำบัด ( ระยะเวลา 1 ปี ทุกระบบ) -สมัครใจ /บังคับไม่ควบคุมตัว ** -ศูนย์ปรับเปลี่ยนฯ/บังคับบำบัด -รพ.ท./รพ.ช. ทุกแห่ง -ทีมบูรณาการ-สสอ/รพ.สต/อสม. 5.การบันทึกข้อมูล บสต.ใหม่ -ผู้ใช้, ผู้เสพ, ผู้ติด, -ผู้ป่วยจิตเวช/โรคติดต่อ -รพ.สต. (สสอ.) -รพ. /สสจ. 1.ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ตั้งอยู่ ที่ รพ.ทั้ง 8 แห่ง มีหน้าที่ คัดกรอง จำแนกสถานการณ์เสพ และส่งต่อเข้ารับการบำบัดที่เหมาะสม รวมทั้งการประเมิน โรคทางจิจเวช โรคติดต่อเรื้อรังและ โรคติดเชื้อ รวมทั้ง โรคสุรา 2.รพ ทั้ง 8 แห่ง ผ่านการรับรอง ในปี 60 และต้องพัฒนาต่อเนื่อง 3.ปี 60 กระทรวงสาธารณสุข รับจัดบริการ ผู้ป่วย ระบบสมัครใจ และ ระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว จาก สนง คุมประพฤติ ทำให้ ปริมาณงานของ จนท.เพิ่มมากขึ้น 4.การบูรณาการร่วมกับ ศปปส.อ ด้านการตรวจปัสสาวะ และการติดตามผู้ผ่านการบำบัด ( เมื่อได้รับการประสาน) 5.การบันทึกข้อมูล บสต ต้องให้ความสำคัญ เพราะเป็นการประเมินผลที่ ทุกส่วนใช้ร่วมกัน ในปี 60 จะพบปัญหามากมาย เนื่องจาก มีการปรับปรุงใหม่ และปัญหายังจะต้องแก้ไขต่อเนื่องใน ปี 61

แนวทางการดำเนินงานสำคัญงานสุขภาพจิต/OSCC ปีงบประมาณ 2561 แต่งตั้งคณะกรรมการสุขภาพจิต เพื่อการบังคับใช้พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 ระดับจังหวัด โดยมีหน้าที่ขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในจังหวัดอย่างเป็นรูปธรรม โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายจังหวัดลำพูน (ยุทธศาสตร์ที่ 4 เมืองแห่งคุณภาพชีวิต :กิจกรรมรวมพลังทุนทางสังคม สู่ความสุขอย่างมีคุณธรรม) โดยได้งบดำเนินงานจำนวน 1,481,000 บาท พัฒนาระบบบันทึกข้อมูล รง.506S(แบบเฝ้าระวังการทำร้ายตัวเอง)ให้เชื่อมโยงกับ HCD และระบบรายงาน 43 แฟ้ม การสนับสนุนการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในเด็ก และสตรี และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต)

แนวทางการดำเนินงานสำคัญงานการแพทย์ฉุกเฉินปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัด กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง 1. การจัดทำแผนจัดการภาวะฉุกเฉิน ประเมินความเสี่ยงและความพร้อมการจัดการภาวะฉุกเฉินของโรงพยาบาล/สถานบริการ สสจ./รพ./สสอ. -สสจ. /รพท. / รพช. สสอ.ทุกแห่ง อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชม.ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป -ECS คุณภาพ -ER คุณภาพ -EMS คุณภาพ 1พัฒนาทักษะผู้ประเมิน ECS คุณภาพ 2.พัฒนาระบบ Trauma life support ระดับโรงพยาบาล 3.สนับสนุนการอบรมความรู้ การดูแลผู้ป่วยระยะต่อเนื่อง และพัฒนา Basic life support 4.พัฒนาระบบปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินและเครือข่ายและศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด สสจ./รพ./สสอ./ชุดปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินทุกระดับ/ ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน พัฒนาระบบข้อมูลรายงาน ข้อมูลการสอบสวนการบาดเจ็บ เพื่อใช้ประโยชน์ในการกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาให้เหมาะสม -รพ.ท./รพ.ช. /สสอ.ทุกแห่ง -ทีมบูรณาการสหวิชาชีพ -รพ.ท./รพ.ช. ทุกแห่ง -ทีมบูรณาการ

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1.พัฒนากระบวนการสื่อสารความเสี่ยง /Health Literacy และการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มอายุ 1.1 ประชุมแลกเปลี่ยนกระบวนการ -บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน การสื่อสารความเสี่ยง ต้องมีความรู้รอบด้านสุขภาพและตรงกับการแก้ปัญหาในพื้นที่/ภาคีเครือข่าย -รพ.ท. / รพ.ช. / สสอ /รพ สต ทุกแห่ง -ท้องถิ่น/ภาคีเครือข่าย สื่อสารความเสี่ยง/พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ( Health Literacy )และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1.2 อบรมพัฒนาทักษะ กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับบุคลากร 1.ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ตั้งอยู่ ที่ รพ.ทั้ง 8 แห่ง มีหน้าที่ คัดกรอง จำแนกสถานการณ์เสพ และส่งต่อเข้ารับการบำบัดที่เหมาะสม รวมทั้งการประเมิน โรคทางจิจเวช โรคติดต่อเรื้อรังและ โรคติดเชื้อ รวมทั้ง โรคสุรา 2.รพ ทั้ง 8 แห่ง ผ่านการรับรอง ในปี 60 และต้องพัฒนาต่อเนื่อง 3.ปี 60 กระทรวงสาธารณสุข รับจัดบริการ ผู้ป่วย ระบบสมัครใจ และ ระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว จาก สนง คุมประพฤติ ทำให้ ปริมาณงานของ จนท.เพิ่มมากขึ้น 4.การบูรณาการร่วมกับ ศปปส.อ ด้านการตรวจปัสสาวะ และการติดตามผู้ผ่านการบำบัด ( เมื่อได้รับการประสาน) 5.การบันทึกข้อมูล บสต ต้องให้ความสำคัญ เพราะเป็นการประเมินผลที่ ทุกส่วนใช้ร่วมกัน ในปี 60 จะพบปัญหามากมาย เนื่องจาก มีการปรับปรุงใหม่ และปัญหายังจะต้องแก้ไขต่อเนื่องใน ปี 61

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 2.พัฒนาระบบบริการ NCDs Clinic คุณภาพ 2.1 ประชุมพัฒนาระบบบริการ -บุคลากรผู้รับผิดชอบผลลัพธ์บริการ ตั้งแต่การควบคุมโรคผู้ป่วยและการตรวจ หาภาวะแทรกซ้อนต่างๆ รวมทั้งผู้ป่วยราย -รพ.ท. / รพ.ช. / สสอ /รพ สต ทุกแห่ง -ท้องถิ่น/ภาคีเครือข่าย NCDs คุณภาพ 3.พัฒนากลไก การบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรด้านจัดการระบบ ใหม่ การติดตามดูแลในพื้นที่ การเชื่อมโยงบริการกับสาขาบริการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 ประชุมคณะทำงาน 3.2 อบรม/พัฒนา System-Case Manager -บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน System-Case Manager -รพ.ท. / รพ.ช. ทุกแห่ง 1.ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ตั้งอยู่ ที่ รพ.ทั้ง 8 แห่ง มีหน้าที่ คัดกรอง จำแนกสถานการณ์เสพ และส่งต่อเข้ารับการบำบัดที่เหมาะสม รวมทั้งการประเมิน โรคทางจิจเวช โรคติดต่อเรื้อรังและ โรคติดเชื้อ รวมทั้ง โรคสุรา 2.รพ ทั้ง 8 แห่ง ผ่านการรับรอง ในปี 60 และต้องพัฒนาต่อเนื่อง 3.ปี 60 กระทรวงสาธารณสุข รับจัดบริการ ผู้ป่วย ระบบสมัครใจ และ ระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว จาก สนง คุมประพฤติ ทำให้ ปริมาณงานของ จนท.เพิ่มมากขึ้น 4.การบูรณาการร่วมกับ ศปปส.อ ด้านการตรวจปัสสาวะ และการติดตามผู้ผ่านการบำบัด ( เมื่อได้รับการประสาน) 5.การบันทึกข้อมูล บสต ต้องให้ความสำคัญ เพราะเป็นการประเมินผลที่ ทุกส่วนใช้ร่วมกัน ในปี 60 จะพบปัญหามากมาย เนื่องจาก มีการปรับปรุงใหม่ และปัญหายังจะต้องแก้ไขต่อเนื่องใน ปี 61

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 4.พัฒนาระบบข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพโรคไม่ติดต่อ และระบบข้อมูล การติดตามประเมินผล -บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน System-Case Manager / IT / เวชสถิติ -รพ.ท. / รพ.ช. / สสอ /รพ สต ทุกแห่ง -ท้องถิ่น/ภาคีเครือข่าย - ประชุมพัฒนาทักษะ บุคลากรในการจัดการข้อมูล NCDs สำหรับการติดตามประเมินผล (HDC) 1.ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ตั้งอยู่ ที่ รพ.ทั้ง 8 แห่ง มีหน้าที่ คัดกรอง จำแนกสถานการณ์เสพ และส่งต่อเข้ารับการบำบัดที่เหมาะสม รวมทั้งการประเมิน โรคทางจิจเวช โรคติดต่อเรื้อรังและ โรคติดเชื้อ รวมทั้ง โรคสุรา 2.รพ ทั้ง 8 แห่ง ผ่านการรับรอง ในปี 60 และต้องพัฒนาต่อเนื่อง 3.ปี 60 กระทรวงสาธารณสุข รับจัดบริการ ผู้ป่วย ระบบสมัครใจ และ ระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว จาก สนง คุมประพฤติ ทำให้ ปริมาณงานของ จนท.เพิ่มมากขึ้น 4.การบูรณาการร่วมกับ ศปปส.อ ด้านการตรวจปัสสาวะ และการติดตามผู้ผ่านการบำบัด ( เมื่อได้รับการประสาน) 5.การบันทึกข้อมูล บสต ต้องให้ความสำคัญ เพราะเป็นการประเมินผลที่ ทุกส่วนใช้ร่วมกัน ในปี 60 จะพบปัญหามากมาย เนื่องจาก มีการปรับปรุงใหม่ และปัญหายังจะต้องแก้ไขต่อเนื่องใน ปี 61

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ TO BE NUMBER ONE ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการฯและบูรณาการทำแผนปฏิบัติการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปี 2561 คณะกรรมการระดับจังหวัด จำนวน 50 คน สสจ. 2. จัดประชุมเพื่อขับเคลื่อนการจัดตั้งชมรม/ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในชุมชน โรงเรียน โรงงาน เรือนจำ จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ขับเคลื่อนฯ ครั้งที่ 2 นำเสนอผลงานเด่น ผู้รับผิดชอบงาน TO BE NUMBER ONE ในชุมชน โรงเรียน โรงงาน เรือนจำ จำนวน 125 คน 3. สนับสนุนงบฯในการเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ TO BE NUMBER ONE ปี 2561 ดังนี้ - กิจกรรม TO BE NUMBER ONE Teen Dancercise Thailand Champion Ship 2018 - กิจกรรมเยาวชนเก่งและดี TO BE NUMBER ONE IDOL - กิจกรรมการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE - กิจกรรมการประกวดจังหวัด TO BE NUMBER ONE สมาชิก TO BE NUMBER ONE จังหวัดลำพูน

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - ยาสูบ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมคณะกรรมการเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จังหวัดลำพูน ประจำปี 2561 คณะกรรมควบคุมการเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ระดับจังหวัด จำนวน 25 คน สสจ. (งบประมาณ สสส.) 2. ประชุมคณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบจังหวัด ประจำปี 2561 คณะกรรมการควบคุมยาสูบระดับจังหวัด จำนวน 25 คน 3. จัดประชุมชี้แจงแผนแก่คณะทำงานควบคุมการบริโภคยาสูบและสุราระดับอำเภอและเครือข่ายระดับอำเภอทุกอำเภอ ถ่ายทอดแผนขับเคลื่อนจังหวัดปลอดบุหรี่และสุราสู่ระดับพื้นที่ บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย จำนวน 100 คน สสจ. ,สสอ. 4. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขและบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อเสริมพลังเครือข่ายระดับอำเภอทุกอำเภอในการเฝ้าระวังควบคุมโรค บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย จำนวน 15๐ สสจ. , สสอ. 5. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ แกนนำชุมชน เพื่อสร้างกลไกผู้ขับเคลื่อนงานควบคุมยาสูบในระดับระดับชุมชน เช่น แกนนำเยาวชน อสม. บุคคลต้นแบบ เป็นต้น แกนนำชุมชน จำนวน 20 คน/อำเภอ 8 อำเภอ รวม 160 คน สสจ. , สสอ. , รพ.สต. , สพม. ,สพฐ. (งบประมาณ สสส.)

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - ยาสูบ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครูแกนนำดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ และสุรา ครูแกนนำ จำนวน 40 คน/อำเภอ 8 อำเภอรวม 320 คน สสจ. , สสอ. , รพ.สต. , สพม. ,สพฐ. (งบประมาณ สสส.) 7. จัดอบรมผู้ประกอบการร้านค้ายาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผู้ประกอบการ จำนวน 30 คน/อำเภอ 7 อำเภอ ยกเว้นอำเภอเมือง 80 คน รวม 290คน สสจ. , สสอ. , รพ.สต. (งบประมาณ สสส.) 8. จัดเวทีเสวนาเครือข่ายสื่อมวลชนวิทยุชุมชนและเครือข่ายหลักเพื่อเสริมพลังเครือข่ายในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำพูนปลอดบุหรี่และสุรา บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย จำนวน 50 คน 9. สร้างและพัฒนาบุคคลต้นแบบและหน่วยงานต้นแบบที่มีผลงานดีเด่นด้านการควบคุมยาสูบและสุรา ทำให้สิ่งแวดล้อมปลอดควันบุหรี่และสุราและยกย่องเชิดชูเกียรติตามบริบทของพื้นที่ ประชาชนจังหวัดลำพูน 8 อำเภอ 10. พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชนและครูพี่เลี้ยงในระดับพื้นที่ เพื่อสร้างความตระหนักจิตสำนึกค่านิยมการไม่สูบบุหรี่ให้กับเยาวชน จำนวน 49 แห่งๆละ 15 คน รวม 735 คน แกนนำเยาวชนและครูพี่เลี้ยงในระดับพื้นที่ จำนวน 49 แห่งๆละ 15 คน รวม 735 คน

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - ยาสูบ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 11. จัดนิทรรศการ กิจกรรมรณรงค์สร้างความตระหนักในโทษและพิษภัยของบุหรี่ในรูปแบบที่หลากหลายในสถานศึกษาทุกระดับ สถานศึกษาทุกระดับ จังหวัดลำพูน สสจ. , สสอ. , รพ.สต. , สพม. ,สพฐ. (งบประมาณ สสส.) 12. พัฒนาสื่อการเรียนรู้ ที่โดนใจและสื่อสารผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆเช่น วิทยุชุมชนและสถานีวิทยุท้องถิ่น/เสียงตามสาย เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาช่องทางการเข้าถึงสื่อต่างๆ สสจ. , สสอ. , รพ.สต. (งบประมาณ สสส.) 13. สนับสนุนสถานศึกษาดำเนินการตามแนวทางโรงเรียนปลอดบุหรี่ 14. การพัฒนาคุณภาพสถานบริการสาธารณสุขให้สามารถจัดบริการช่วยเลิกยาสูบและสุรา บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย จำนวน 100 คน 15. การจัดอบรม จนท สาธารณสุข เพื่อช่วยเลิกบุหรี่และสุรา บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย จำนวน ๑๐๐ คน

แนวทางการดำเนินงานสำคัญ งานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - ยาสูบ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 16. อบรม อสม.เพื่อช่วยเลิกบุหรี่และสุรา ในชุมชน อสม. จำนวน 20 คน/อำเภอ รวม 160 คน สสจ. , สสอ. , รพ.สต. (งบประมาณ สสส.) 17. สร้างความตระหนักสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่และสุราโดยมีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อทุกช่องทาง บ้าน วัด โรงเรียน ในจังหวัดลำพูน 18. ส่งเสริมพัฒนาจัดสถานที่สาธารณะให้เป็นเขตปลอดบุหรี่และสุราตามกฎหมาย พื้นที่ทั่วจังหวัดลำพูน 19. ออกติดตามเฝ้าระวังการบังคับใช้กฎหมายระดับอำเภอ 8 อำเภอ จังหวัดลำพูน 20. จัดประชุม ถอดบทเรียนการดำเนินงานจังหวัดปลอดบุหรี่และสุรา บุคลากร สาธารณสุขและเครือข่าย จำนวน ๑2๐ คน 21. ประเมินและรับรองโรงเรียนสุขภาพดีปลอดบุหรี่และเหล้าต้นแบบ โรงเรียนในจังหวัดลำพูน สสจ. , สสอ. , รพ.สต. , สพม. ,สพฐ. (งบประมาณ สสส.)