สถานการณ์สุขภาพช่องปาก ปี 2560 สถานการณ์สุขภาพช่องปาก ปี 2560 เด็กอายุ 3 ปี มีโรคฟันผุ ร้อยละ 46.8 แนวโน้มผุลดลง วัยเรียนอายุ 12 ปี มีโรคฟันผุ ร้อยละ 42.9 แนวโน้มผุลดลง รบ นฐ สพ กจ สค สส พบ ปข รบ นฐ สพ กจ สค สส พบ ปข รบ 54.9 % นฐ 54.5 % สส 51.1 % พบ 55.4 % กจ 48.1 % รบ 44.2 % ต่ำกว่า 40% 40 – 50 % มากกว่า 50 %
สถานการณ์สุขภาพช่องปาก ปี 2561 สถานการณ์สุขภาพช่องปาก ปี 2561 เด็กอายุ 3 ปี มีโรคฟันผุ ร้อยละ 40.7 แนวโน้มผุลดลง วัยเรียนอายุ 12 ปี มีโรคฟันผุ ร้อยละ 40.1 แนวโน้มผุลดลง รบ นฐ สพ กจ สค สส พบ ปข รบ นฐ สพ กจ สค สส พบ ปข สส 49.0 % นฐ 44.0 % สค 43.2 % กจ 48.0 % นฐ 44.7 % ต่ำกว่า 40% 40 – 50 % มากกว่า 50 % รบ พบ ปข ใช้ข้อมูล HDC จังหวัดอื่นเป็นข้อมูลจากการสำรวจเฝ้าระวังทันตฯ
สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 แนวโน้มสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย ปี2557 - 2561 สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 เด็กอายุ 18 เดือน มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 8.5 แนวโน้มลดลง เด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 40.7 มีแนวโน้มลดลงในช่วง 6 ปี แนวโน้ม 6 ปี (ปี2556 – 2561) อัตราฟันผุ เด็กอายุ 18 เดือน 13.3 , 14.6 , 14.7 , 13.2 , 9.5 , 8.5 อัตราฟันผุ เด็กอายุ 3 ปี 58.1 , 51.7 , 51.0 , 47.8 , 46.8 , 40.7 ปี 2561 รบ พบ ปข ใช้ข้อมูล HDC จังหวัดอื่นเป็นข้อมูลจากการสำรวจเฝ้าระวังทันตฯ
สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 สภาวะสุขภาพช่องปากของประชาชนกลุ่มวัยสำคัญ ปี 2561 สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 เด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 40.7 มีแนวโน้มลดลงในช่วง 6 ปี เด็กอายุ 12 ปี มีโรคฟันผุร้อยละ 40.1 แนวโน้มคงที่ในช่วงปี57-60 แล้วลดลงในปี60-61 แนวโน้ม 6 ปี (ปี2556 – 2561) อัตราฟันผุ เด็กอายุ 3 ปี (ชุดฟันน้ำนม) 58.1 , 51.7 , 51.0 , 47.8 , 46.8 , 40.7 อัตราฟันผุ เด็กอายุ 12 ปี (ชุดฟันถาวร) 48.2 , 44.4 , 45.6 , 44.0 , 42.9 , 40.1 ปี 2561 รบ พบ ปข ใช้ข้อมูล HDC จังหวัดอื่นเป็นข้อมูลจากการสำรวจเฝ้าระวังทันตฯ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อ สภาวะฟันผุในเด็กปฐมวัย HEALTH ปัจจัยที่ส่งผลต่อ สภาวะฟันผุในเด็กปฐมวัย
สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 ความครอบคลุมของบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปาก เด็กอายุ 0-5 ปี สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 อัตราฟันผุในเด็กปฐมวัย (เด็กอายุ 18 เดือน และเด็กอายุ 3 ปี) มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปาก ครอบคลุมกลุ่มเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น เข้าถึงเด็ก กลุ่มเสี่ยงต่อฟันผุ โดยการมีส่วนร่วมของ อสม. ติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการเฝ้าระวังทันตฯในชุมชน และการร่วมจัดบริการส่งเสริมป้องกันพื้นฐาน โดยจนท.สาธารณสุขที่ไม่ใช่ทันตบุคลากร (รพ.สต.ในเขต5 มีทันตาภิบาลประจำร้อยละ42.5 ในปี2561) ร้อยละเด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก โดยทันตบุคลากร ร้อยละเด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก โดยทันตบุคลากร ร้อยละผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี ได้ฝึกปฏิบัติแปรงฟันให้เด็ก ร้อยละเด็ก 3-5 ปี ได้รับบริการฟลูออไรด์วานิช ข้อมูล HDC วันที่ 24 กพ.62
สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 ปัจจัยด้านพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 18 เดือน สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 ข้อมูลสำรวจเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพช่องปาก พบว่า เด็กอายุ 18 เดือนได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครองทุกวันเพิ่มขึ้น แต่ยังพบว่าเด็กมีอนามัยช่องปากที่ไม่สะอาด ทั้งนี้เนื่องจาก การบริโภคนมหวาน/นมปรุงแต่งรส ที่ไม่ลดลง และการแปรงฟันยังไม่มีคุณภาพมากพอที่จะลดฟันผุ ร้อยละเด็กอายุ 18 เดือน ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง ทุกวัน ร้อยละเด็ก 18 เดือน มีอนามัยช่องปากไม่สะอาด ร้อยละเด็ก 18 เดือน ดื่มนมหวาน/นมปรุงแต่งรส
สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 ปัจจัยด้านพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 3 ปี สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 ข้อมูลสำรวจเด็กอายุ 3 ปีในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พบว่า ร้อยละ88.1 ได้แปรงฟันตอนเช้า แต่ร้อยละ19.8 มีอนามัยช่องปากที่ไม่สะอาด และมีพฤติกรรมบริโภคที่เสี่ยงต่อฟันผุ แม้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตสุขภาพที่5 ร้อยละ 99.4 จะจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ94.0 จัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็ก แต่ก็พบว่าร้อยละ19.1 จัดอาหารว่างเป็นขนม ร้อยละเด็กอายุ 3 ปี มีอนามัยช่องปากไม่สะอาด ร้อยละเด็ก 3 ปีนำนมผสมน้ำตาล มาดื่มที่ศูนย์เด็ก ร้อยละเด็ก 3 ปีนำขนมมารับประทานที่ศูนย์เด็ก
ข้อเสนอต่อแผนงานระดับเขต HEALTH ข้อเสนอต่อแผนงานระดับเขต
Best Practice ข้อเสนอต่อจังหวัด/อำเภอ - อสม.ทันตสุขภาพ ดีเด่นระดับประเทศ (รบ) Sweet Enough canteen ในโรงเรียน ชมรมคนรักฟัน จ.ราชบุรี - โครงการจัดบริการอุดฟันSMARTและอุดฟันPRR เพื่อลดการลุกลามของโรคฟันผุ (นฐ) - ตำบล3ดี พัฒนาการดี หุ่นดี ฟันดี (สพ) - คุณภาพงานติดตามเฝ้าระวังฟันผุเด็กปฐมวัย ทาฟลูออไรด์ครั้งที่2 ทุก 6 เดือน (ปข) ข้อเสนอต่อจังหวัด/อำเภอ พัฒนาระบบรายงานเก็บข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเด็ก และพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก โดยบูรณาการกับงานประจำ ในคลินิก WCC , บริการในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน คปสอ.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ใน รพ.สต.ไม่มีทันตาภิบาลประจำ + อสม. “เฝ้าดูฟัน” คือดำเนินการเฝ้าระวัง (บูรณาการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต) เรื่อง ความสะอาดในช่องปากเด็กอายุ 0-2 ปี และแนะนำผู้ปกครอง ลดความเสี่ยง จากการดูดนม/เครื่องดื่มหวาน การให้เด็กกินขนมบ่อยกว่า 2ครั้งต่อวัน สร้างการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก โดยการคืนข้อมูลแก่ อปท. โรงเรียน และชุมชน มีนโยบายระดับจังหวัด พัฒนาคุณภาพกิจกรรมแปรงฟัน222 ในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน เด็กนักเรียนทุกคน ได้รับการฝึกทักษะดูแลตนเอง แปรงฟันได้ทั่วทั้งปากและแปรงฟันสะอาด และสร้างพฤติกรรมพึงประสงค์ NuPETHS ควบคู่กับการควบคุมการจำหน่ายขนม/เครื่องดื่ม ในสถานศึกษา (ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน) โดยประสานความร่วมมือองค์กรท้องถิ่น อปท. และเขตพื้นที่การศึกษา
ข้อเสนอต่อเขตสุขภาพ กำหนดนโยบายให้ทุกจังหวัด มีข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปาก ที่สามารถระบุพื้นที่ อำเภอที่มีอัตราฟันผุสูง ระบุพฤติกรรมหรือปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่ได้ชัดเจน ซึ่งจำเป็นต่อการวางแผนส่งเสริมป้องกันระดับอำเภอ และสร้างพฤติกรรมพึงประสงค์ คณะทำงานสาขาสุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 และ สสจ.ในเขต ติดตามผล สถานการณ์โรคฟันผุ เป็นรายอำเภอ เพื่อประเมินความเหมาะสมของมาตรการส่งเสริม ป้องกัน และความเพียงพอของทรัพยากร พัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ รพ.แม่ข่าย Oral heathcare CUP manager ตรวจสอบข้อมูลHDC วิเคราะห์และพัฒนางานระดับอำเภอ สร้างเครือข่ายจังหวัด คณะทำงานสาขาสุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่5 กำหนดเป้าหมายเชิงพฤติกรรม ในแผนงานระดับเขต และสื่อสารให้เพิ่มเติมในแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ /ตำบล เด็กเล็ก - ร้อยละของเด็กที่ไม่ดื่ม/ดูดนมหวาน - ร้อยละของเด็กที่ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนทุกวัน เด็กวัยก่อนเรียน - ร้อยละของเด็กที่มีอนามัยช่องปากสะอาด เด็กวัยเรียน - ร้อยละของเด็กที่แปรงฟัน 222 สร้างทีมกำกับติดตามร่วม สาธารณสุข และ อปท. บูรณาการตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย เขต5
สาขาสุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 สาขาสุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 5 เป้าหมายการพัฒนา พ.ศ.2560-2565 ลดโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ต่ำกว่าร้อยละ40 (ปี60 46.8%) และ 12 ปี ต่ำกว่าร้อยละ40 (ปี60 43%) เด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ cavity free ร้อยละ80 ข้อมูลHDC (ปี60 survey 68.2% ปี61 HDC 80.5%) ผู้สูงอายุ 60-74 ปี มีฟันแท้ใช้งานได้ 20 ซี่ หรือ 4 คู่สบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ40 อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ40 (workload) ศสม.+รพสต. ไม่น้อยกว่า 60% จัดบริการสุขภาพช่องปากอย่างมีคุณภาพ (นิยาม14 กิจกรรม ปี2561) โรงพยาบาล F2 ทุกแห่ง รักษารากฟันน้ำนม รักษารากฟันแท้ที่ไม่ยุ่งยาก โรงพยาบาล M1,M2 ทุกแห่ง (11 แห่ง) รักษารากฟันกรามแท้ ฟันหลายราก โรงพยาบาลระดับ S ทุกแห่ง ให้บริการรากฟันเทียม ศูนย์ความเป็นเลิศด้านสุขภาพช่องปาก : cleft lip/palate(นฐ) ทันตกรรมเด็ก(รบ,สพ) ผู้สูงอายุ(สพ) มะเร็งช่องปาก(นฐ) สถาบันสมทบผลิตทันตแพทย์ประจำบ้าน : รพ.ราชบุรี (สาขาทันตกรรมทั่วไป) แผนพัฒนากำลังคน แผนครุภัณฑ์ แผนสิ่งก่อสร้าง - เพิ่มจำนวนทันตาภิบาลประจำรพ.สต. ให้ได้ร้อยละ50 - มีนโยบายสนับสนุนให้จัดหาผู้ช่วยงาน ข้างเก้าอี้ทันตกรรมในรพ./รพ.สต. - พัฒนาทันตบุคลากรจัดบริการสุขภาพช่องปาก เพื่อลดการสูญเสียฟันแท้ - พัฒนาศักยภาพทันตาภิบาลด้านการคัดกรอง รอยโรคในช่องปากและการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย - พัฒนาและสนับสนุนเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต. จัดบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปาก เพื่อให้โรงพยาบาลมีศักยภาพในการให้บริการทันตกรรมเฉพาะทางตามเกณฑ์ สบรส. ร้อยละ 100 และตามแผนพัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญ ครุภัณฑ์ศูนย์เชี่ยวชาญ 34,865,000 บาท ครุภัณฑ์โรงพยาบาลระดับ F3-S 99,430,000 บาท ครุภัณฑ์ระดับ รพ.สต./ศสม. 41,700,000 บาท - ปรับพื้นที่ห้องคลินิก ทันตกรรมใน รพ. ระดับ F2 8แห่ง M1,M2 3แห่ง S 1แห่ง, A 2แห่ง งบประมาณ 28,400,000 บาท - ตึกทันตกรรม รพ.พุทธมณฑล 9,285,000 บาท เขียนวัตถุประสงค์ o1,o2,o3 แล้วแยกเป็นแผนคน/สิ่งก่อสร้าง/ครุภัณฑ์