การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ณ ห้องประชุมพระธาตุขามแก่น ชั้น ๒ ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น (หลังเก่า)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ขยะ/ของเสียเหลือศูนย์ (Zero Waste Management)
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัด ปัตตานี

Generic Value Chain การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี STEP 1 จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สร้างความมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการที่ดีจากทุกภาคส่วน การพัฒนาระบบกำกับ ป้องกัน ปัญหา การติดตามประเมินผล ตรวจสอบ และควบคุมการดำเนินงาน การจัดการมลพิษ (ขยะและน้ำเสีย) การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน (พื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์) การจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติ แหล่งธรณีวิทยา แหล่งศิลปกรรม และแหล่งมรดกทางธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยว การสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบของ อปท.ต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาและกระตุ้นบทบาทของภาคีเครือข่ายในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำหนดและจำแนกเขตพื้นที่ปัญหาและ/หรือมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต คัดเลือกมาตรการจัดการป้องกัน แก้ไข หรือฟื้นฟูพื้นที่ตามความเหมาะสม ป้องกันพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาซ้ำ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการบังคับใช้โดยเฉพาะในพื้นที่วิกฤติ - เร่งด่วน กำหนดมาตรการเชิงรุกในการติดตามและตรวจสอบสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทำระบบประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการในระดับพื้นที่

ประเด็นปัญหาสำคัญ “การแก้ไขปัญหาขยะและน้ำเสีย” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ และเป็นแหล่งสร้างงานสร้างรายได้แก่ชุมชน ประเด็นปัญหาสำคัญ “การแก้ไขปัญหาขยะและน้ำเสีย” STEP 1 การจัดทำฐานข้อมูลขยะและน้ำเสียสิ่งแวดล้อม ป้องกันและแก้ไข ปัญหาขยะและน้ำเสีย ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของชุมชน พัฒนาและปรับปรุงสถานที่กำจัด ขยะมูลฝอย/เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การกำจัดขยะ/แปรรูปขยะ/น้ำเสีย การติดตามประเมินผล ตรวจสอบขยะและ ควบคุมการดำเนินงาน CSF 1.1 องค์ความรู้ในการ บริหารการจัดการขยะและน้ำเสีย CSF 1.2 แผนการบริหาร จัดการขยะและน้ำเสีย CSF 2.1 การบริหารจัดการขยะชุมชนและน้ำเสียในเขต อุตสาหกรรม CSF 2.2 การบังคับใช้กฎหมายในการจัดการ ขยะมูลฝอย CSF 2.3 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติการตามมาตรการการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากปัญหาขยะมูลฝอย CSF 3.1 การส่งเสริมการ ลดปริมาณขยะและน้ำเสียของครัวเรือน CSF 3.2 การส่งเสริมการคัดขยะแยกขยะ ลดปริมาณ น้ำเสีย CSF 3.3 การส่งเสริมการนำขยะและน้ำเสียของชุมชนกลับมาใช้ประโยชน์ CSF 3.4 การบำบัดน้ำเสีย ครัวเรือน CSF 4.1 พัฒนาปรับปรุงฟื้นฟูสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย CSF 4.2 ความร่วมมือของเครือข่ายชุมชนในการบริหารจัดการขยะ CSF 4.3 การฟื้นฟูคุณภาพน้ำ CSF 4.4 การฟื้นฟูพื้นที่ทิ้ง/ฝั่ง/กลบขยะ CSF 4.5 ผลิตพลังงานทางเลือกจากขยะและน้ำเสีย CSF 5.1 การกำหนดและจำแนกเขตพื้นที่ปัญหาและ/หรือแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต CSF 5.2 คัดเลือกมาตรการการจัดการป้องกัน แก้ไขหรือฟื้นฟูพื้นที่ตามความเหมาะสม CSF 5.3 ป้องกันพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาซ้ำ CSF 5.4 กำหนดมาตรการเชิงรุกในการติดตามตรวจสอบสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

จำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลเหมือนกัน รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น ด้านขยะ สรุป รายการสถิติทางการทั้งหมด 156รายการ / 4 จังหวัด รายการสถิติทางการ Common 20 รายการ รายการสถิติทางการที่ตรงกับ รายสาขา 4 รายการ /1สาขา(ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม) รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น 4 รายการแรก ที่ รายการสถิติทางการ จำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลเหมือนกัน 1. ปริมาณการกำจัดขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง 3 2. ปริมาณการจัดเก็บขยะเพิ่มขึ้น (เที่ยว/วัน 3. ปริมาณขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง 4. ปริมาณขยะสะสมต่อปี จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง

รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น ด้านขยะ จังหวัดปัตตานี ผังรายการสถิติทางการ “การแก้ไขปัญหาน้ำเสียและขยะ” จังหวัดปัตตานี ห่วงโซ่คุณค่า (VC) และปัจจัยสู่ความสำเร็จ (CSF) ตัวชี้วัด ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น หน่วย มี/ไม่มี ฐาน ข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ความถี่ของข้อมูล หน่วยงานผู้รับผิดชอบ CSF 2.1 การบริหารจัดการน้ำเสียและขยะชุมชน/น้ำเสียและขยะจากภาคเกษตร/น้ำเสียและขยะและของเสียอุตสาหกรรม KPI 2.1.1 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะ Data 2.1.1-1 ปริมาณขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง ตัน มี เอกสารขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น. รายปี สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Data 2.1.1-2 ปริมาณการกำจัดขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง Data 2.1.1-3 ปริมาณขยะสะสมต่อปี จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง เอกสารขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น.   Data 2.1.1-4 ปริมาณการจัดเก็บขยะเพิ่มขึ้น(เที่ยว/วัน) - CSF 3.1 การส่งเสริมการลดปริมาณน้ำเสียและขยะต่อครัวเรือน KPI 3.1.1 ปริมาณขยะมูลฝอยต่อครัวเรือนลดลง Data 3.1.1-1 จำนวนครัวเรือนจำแนกตามเขตการปกครอง ครัวเรือน ทะเบียน สนง.สถิติจังหวัด สุราษฎร์ธานี Data 3.1.1-2 ปริมาณขยะมูลฝอยที่รวบรวมแล้วเก็บขนได้ จำแนกตามเขตการปกครอง สำรวจ KPI 3.1.2 อัตราการเกิดขยะมูลฝอยเทียบกับจำนวนประชากรต่อวัน Data 3.1.2-1 จำนวนประชากรตามทะเบียนจำแนกตามเขต การปกครอง คน STEP 2

วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ STEP 2 แผนภูมิแสดงปริมาณขยะและปริมาณการกำจัดขยะ ของ 5 จังหวัด วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” จากแผนภูมิ จะเห็นว่าปริมาณขยะต่อปีและปริมาณการกำจัดขยะ ของ 5 จังหวัดมีปริมาณขยะมาก แต่ปริมาณการกำจัดขยะมีสัดส่วนที่กำจัดได้น้อย ดังนั้น จะทำอย่างไรเพื่อให้ระบบการกำจัดขยะมูลฝอยสามารถดำเนินการได้อย่างเต็มกำลังการกำจัดขยะ เพื่อให้สามารถรองรับขยะที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวัน เช่น โครงการสนับกำจัดขยะร่วมโดยเอกชน และโครงการสร้างจิตสำนึกระดับครัวเรือนในการคัดแยกขยะ เพื่อให้สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ และเป็นแหล่งสร้างงานสร้างรายได้แก่ชุมชน ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม STEP 2

วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ STEP 2 แผนภูมิแสดงประเภทขยะ พ.ศ. 2557 จังหวัดปัตตานี วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” ตัน จากแผนภูมิ เศษอาหารเป็นองค์ประกอบของขยะมูลฝอยที่มีปริมาณมากที่สุด รองลงมาเป็นกระดาษ และพลาสติกตามลำดับ ดังนั้น จึงควรมีการสนับสนุนการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ของขยะประเภทเศษอาหาร และ พลาสติก เพื่อลดปริมาณขยะ และควรมีการวางแผนการบริหารการจัดการขยะในเขตพื้นที่ชุมชนและเขตอุตสาหกรรมเช่น โครงการสนับกำจัดขยะร่วมโดยเอกชน และโครงการสร้างจิตสำนึกระดับครัวเรือนในการคัดแยกขยะ STEP 2

โครงการสำคัญ / มาตรการ จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ เพื่อให้ระบบการกำจัดขยะมูลฝอยสามารถดำเนินการได้อย่างเต็มกำลังการกำจัดขยะ เพื่อให้สามารถรองรับขยะที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวัน โครงการสนับกำจัดขยะร่วมโดยเอกชน เพื่อให้เกิดการสนับสนุนการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ของขยะประเภทเศษอาหาร และ พลาสติก เพื่อลดปริมาณขยะ โครงการสร้างจิตสำนึกระดับครัวเรือนในการคัดแยกขยะ STEP 3

1. โครงการกำจัดขยะรวมโดยเอกชน จังหวัดปัตตานี 1. โครงการกำจัดขยะรวมโดยเอกชน วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อกำจัดขยะรวมในพื้นที่เขตอุตสาหกรรมและในพื้นที่อำเภอ 2.เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการและพัฒนาขยะให้เป็นพลังงาน ลดการปล่อยมลพิษกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม 3.เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาระบบคัดแยก โดยสร้างที่พักขยะ/ศูนย์คัดแยกขยะ 2. กิจกรรมศึกษาพัฒนาขยะมูลฝอยเป็นพลังงาน โดยการใช้ประโยชน์จากการคัดแยกขยะ 2.1 เผาขยะเพื่อสร้างกระแสไฟฟ้า 2.2 ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ STEP 4

2. โครงการสร้างจิตสำนึกของการคัดแยกขยะ ระดับครัวเรือน จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะและน้ำเสีย” 2. โครงการสร้างจิตสำนึกของการคัดแยกขยะ ระดับครัวเรือน วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อลดปริมาณขยะ 2. เพื่อให้ครัวเรือนคัดแยกขยะเบื้องต้น กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. ให้ความรู้ รณรงค์ด้านการคัดแยกขยะ 2. จัดอุปกรณ์ในการคัดแยกขยะ เช่น ขยะแห้ง ขยะเปียก ขยะอันตราย พลาสติก เป็นต้น STEP 4