การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การสร้างตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่ การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่ ดร.ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

กระบวนการพัฒนาด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

กำหนดกิจกรรมสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

ง่ายๆ = งานที่ใครๆ ก็ทำ ค่ากลางฯ = Medium Eng. = Norm (มาจาก Mode) Thai = บรรทัดฐาน = ค่ากลางที่คาดหวัง ง่ายๆ = งานที่ใครๆ ก็ทำ

กระบวนการยกระดับโครงการสุขภาพด้วยตนเอง

ค่ากลางฯ ไม่ใช่ งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ ค่ากลางฯ ไม่ใช่ งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ เป็น... งานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (ระดับกลาง) ได้ทำแล้วประสบความสำเร็จ คือ ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) แต่ไม่ทำให้... บรรลุผลเชิงปริมาณ หรือตัวชี้วัดของกระทรวง

ประเภทของค่ากลาง ค่ากลางที่คาดหวังสำหรับแผนงาน/โครงการเรื่อง..... ค่ากลางความสำเร็จสำหรับแผนงาน/โครงการเรื่อง...

การสร้างค่ากลางเชียงใหม่

ค้นหาค่ากลางฯ รวบรวมและเรียงลำดับ คัดเลือกค่ากลางฯ การนำไปใช้ -จนท./อสม.+กองทุนฯ -เลือกพื้นที่เข้มแข็งระดับ กลาง รวบรวมและเรียงลำดับ -งาน สช. รวบรวม -เรียงงานตามความถี่ คัดเลือกค่ากลางฯ -กลุ่มงานเกี่ยวข้องคัดเลือก -เน้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การนำไปใช้ -สำรวจฯ ก่อนใช้-พัฒนา -สำรวจฯ หลังใช้-ปรับ ประกาศค่ากลางฯ -เวทีประกาศค่ากลางฯ -รับทราบทั้ง 3 ท้อง ผู้บริหารเห็นชอบ -นำเสนอผู้บริหาร -ผู้บริหารลงนาม

1. ค้นหาค่ากลางฯ - ดำเนินการระดับจังหวัด เลือกพื้นที่ (ความเข้มแข็ง) ระดับกลาง ร้อยละ 20 - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต. 1 รอบ และ อสม. รวมกับกรรมการกองทุนฯ 1 รอบ - เลือกประเด็นที่เป็นปัญหาของพื้นที่เป็นลำดับแรก - ปีหลังๆ ใช้การสำรวจ แบบเจาะจง

การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การจัดการกลุ่มเป้าหมาย การสร้างระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองโดยประชาชน การดำเนินมาตรการทางสังคม การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปรับปรุงแผนงาน/โครงการท้องถิ่น/ตำบล การจัดการสภาวะแวดล้อม แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

2. รวบรวมและเรียงลำดับ

การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการ ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ 100 % กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของโครงการ ได้แก่งานที่ 6 7 8 9 65 50 1 2 3 4 5 6 7 8 9 งาน การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด (ข) วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ (ค) เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไปหามาก

3. คัดเลือกค่ากลางฯ

การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การจัดการกลุ่มเป้าหมาย การสร้างระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองโดยประชาชน การดำเนินมาตรการทางสังคม การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปรับปรุงแผนงาน/โครงการท้องถิ่น/ตำบล การจัดการสภาวะแวดล้อม แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน

4. ผู้บริหารเห็นชอบ

5. ประกาศค่ากลางฯ ครั้งที่ 1 7 สิงหาคม 2554 ครั้งที่ 2 26 มีนาคม 2557

การประเมินศักยภาพชุมชน 6. การนำไปใช้ การประเมินศักยภาพชุมชน

การสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลาง

เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินรายกิจกรรม ระดับ 1  พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 1 งาน หรือไม่ได้ทำ ระดับ 2  พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง 2 ถึง 3 งาน ระดับ 3  พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 4 งานขึ้นไป หรือทุกงาน

เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) เกณฑ์การประเมินภาพรวม ระดับ 1 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 ระดับ 2 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 2 และไม่มีกิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 ระดับ 3 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วทั้ง 6 กิจกรรมได้รับการประเมินเป็นระดับ 3

ระดับ 4  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช.

ระดับ 4  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช. ระดับ 5  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 4 แล้วเปิดเป็น รน.สช. รวมทั้งมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายของแผนงาน/โครงการดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ (เกิดกล่องสุดท้ายของ SLM ของแผนงาน/โครงการนั้น) อย่างน้อยร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด หรือเป็นพื้นที่ที่สามารถนำค่ากลางไปสร้างแผนงาน/โครงการที่บูรณาการร่วมกัน เช่น โครงการคัดกรองโรคที่บูรณาการร่วมกันทั้งการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไข้เลือดออก อาหารปลอดภัย ฯลฯ

ตารางช่วยประเมินศักยภาพแผนงาน/โครงการ พื้นที่ กิจกรรมสำคัญ ระดับรายกิจกรรม มีนวัต กรรม เปิด รน.สช. ระดับภาพรวม 1 2 3 4 5 6 พื้นที่ ก. - พื้นที่ ข. พื้นที่ ค. พื้นที่ ง. พื้นที่ จ.  พื้นที่ ฉ.

DM+HT FS

การพัฒนาหลังจากมีการกำหนด ค่ากลางของจังหวัด

ค้นหานวัตกรรมสุขภาพชุมชน

นวัตกรรมสุขภาพชุมชนตำบลเชิงดอย นวัตกรรม: อผส. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย นวัตกรรม: อสม. เจาะเลือดปลายนิ้วใกล้บ้านใกล้ใจ นวัตกรรม: รำวงย้อนยุค

การประเมินตนเองเพื่อเตรียมเปิด รน.สช.

พัฒนาสู่ความยั่งยืน

โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ปรัชญา รน.สช. เป็นการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพชุมชน ให้สามารถประยุกต์ประสบการณ์และความสำเร็จในการดำเนินงานจัดการสุขภาพ ไปใช้ในพื้นที่ของตนได้อย่างเหมาะสม ก่อนให้เกิดการจัดการสุขภาพในพื้นที่ของตนเองได้อย่างยั่งยืน

การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน 56 แห่ง - School without Wall ของชุมชน - เวทีแสดงออกของทีมจัดการสุขภาพชุมชน - ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - มีมาตรการชุมชน/นวัตกรรมฯ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามประสบการณ์

สวัสดี