การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ โดย.... พรพรรณ ไม้สุพร ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย
ประเด็นการบรรยายประกอบด้วย สารระสำคัญของกฎหมายการสาธารณสุข เรื่อง เหตุรำคาญ บทบาทของเจ้าพนักงานสาธารณสุขในการ ทำงานร่วมกับ อปท. เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่อง ร้องเรียน/เหตุรำคาญ กรณีตัวอย่าง
โรงงานปลาหมึกดองกรอบ
โซดาไฟสีแดง
ฟอร์มาลินผสมสีแดง
ระบบความคิดในการดำเนินการแก้ไขปัญหา/พัฒนา วิเคราะห์ กำหนด สภาพปัญหา นโยบาย แก้ไข สะท้อน ส่งเสริมพัฒนา ด้านกฎหมาย แผนงาน/โครงการ กิจกรรมเป้าหมาย /มาตรการ ผ่าน ประสานงาน / ร่วมมือ ของ หน่วยงาน /องค์กรต่างๆ บทบาท/ภารกิจ หน่วยงาน /องค์กรต่างๆ
ใช้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข เพื่อ ราชการส่วนท้องถิ่น ใช้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข เพื่อ คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ป้องกัน จุลินทรีย์ ที่ก่อโรค มลพิษ สิ่งแวดล้อม
หลักการของ พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ คุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะ และการอนามัยสิ่งแวดล้อม กระจายอำนาจสู่ส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น และบังคับใช้ ให้อำนาจเจ้าพนักงานสาธารณสุขตรวจตราแนะนำ เป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้มีคณะกรรมการสาธารณสุข กำกับดูแล ให้การสนับสนุน ให้สิทธิแก่ประชาชนยื่นอุทธรณ์ได้
สารบัญญัติตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2)จพง.ท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้อำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1) ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการตลาด สถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร การขายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ 2)จพง.ท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต และตรวจตราดูแล กิจการต่าง ๆ 3) กรณี เกิดเหตุรำคาญ ผิดสุขลักษณะอาคาร ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ 4) จพง.ท้องถิ่นออกคำสั่งให้ ปรับปรุง/ แก้ไข หยุดกิจการ พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาต
ลักษณะของเหตุรำคาญ ตามมาตรา 25 (1) แหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ/ ที่อาบน้ำ /ส้วม/ที่ใส่มูล เถ้า สถานที่อื่นใด กลิ่นเหม็น ละอองพิษ ที่เพาะพันธุ์ ทำเลไม่เหมาะสม สกปรก/หมักหมม ในที่/โดยวิธีใด /มากเกินไป (2) การเลี้ยงสัตว์ จนเป็นเหตุ ให้เสื่อมหรือ เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ ไม่มีการระบายอากาศ การระบายน้ำทิ้ง การกำจัดสิ่งปฏิกูล การควบคุมสารพิษ มี แต่ไม่มีการควบคุม จนเกิด กลิ่นเหม็น /ละอองสารพิษ (3) อาคาร/ โรงงาน /สถานประกอบการ ให้เกิด กลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้าหรือกรณีอื่นใด (4) การกระทำใด (5) เหตุอื่นใดที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมายถึง กิจการที่ รมว.สธ. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เป็น กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ม.31) มี 135 ประเภท 13 กลุ่ม 1. กิจการที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ (3) 2. กิจการที่เกี่ยวกับสัตว์และผลิตภัณฑ์ (8) 3. กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ำดื่ม (26) 4. กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ์ อุปกรณ์การแพทย์เครื่องสำอาง สารชำระล้าง (5) 5. กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร (9) 6. กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร่ (6) 7. กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต์ เครื่องจักรหรือเครื่องกล (7) 8. กิจการที่เกี่ยวกับไม้ (8) 9. กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ (17) 10. กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ (8) 11. กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายคลึง (11) 12. กิจการที่เกี่ยวกับปิโตรเลี่ยม ถ่านหิน สารเคมี (17) 13. กิจการอื่นๆ (10)
การควบคุม เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ราชการส่วนท้องถิ่นต้องออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม.32) (1) กำหนดประเภทกิจการ ที่ต้องควบคุมภายในท้องถิ่น (2) กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขทั่วไป ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ เป็นการค้า ขออนุญาต ต่อ จพถ. ภายใน 90 วัน เงื่อนไขเฉพาะ ที่ จพถ. ระบุ ในใบอนุญาต ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ ไม่เป็นการค้า ต้องปฏิบัติตาม
ความสัมพันธ์ของกิจการ และ เหตุรำคาญ ราชการส่วนท้องถิ่นควบคุม กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการที่ถูกควบคุมตามกฎหมาย กิจกรรม /กิจการทั่วไป การอนุญาต เหตุรำคาญ การปฏิบัติด้านสุขลักษณะ หลักเกณฑ์ทั่วไป ตามข้อกำหนดของท้องถิ่น เงื่อนไขเฉพาะ
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน 1 เจ้าพนักงานท้องถิ่น เจ้าพนักงาน สาธารณสุข ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งจาก 2 3 ศูนย์กฎหมาย สธ. กรมอนามัย
ราชการส่วนท้องถิ่น จพง.ท้องถิ่น กทม. ทบ. พัทยา อบต. เขตกรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เขตเทศบาล เขตองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วน ตำบล องค์การปกครอง ท้องถิ่นอื่น ผู้ว่าฯ กทม. นายกเมืองพัทยา นายกเทศมนตรี นายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัด นายก อบต. หัวหน้าผู้บริหาร องค์การนั้น กทม. ทบ. พัทยา อบต.
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น 1. ออกข้อกำหนดของท้องถิ่นโดยผ่านสภาฯ 2. ออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ตรวจตราดูแลกิจการต่าง ๆ 3. ออกคำสั่งให้ผู้ประกอบกิจการ/บุคคล แก้ไขปรับปรุง กรณีปฏิบัติไม่ถูกต้อง 4. กรณีไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง อาจสั่งให้หยุด กิจการ/พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาตได้ แล้วแต่กรณี 5. เปรียบเทียบคดีในบางคดี 6. แต่งตั้งผู้ได้รับการแต่งตั้งจาก จพถ. 7. อื่นๆที่ระบุไว้ใน พรบ.
เจ้าพนักงานสาธารณสุข ส่วนภูมิภาค 1. นพ.สสจ./นพ.ชช.(ด้านเวชกรรมป้องกัน)นวก.สธ.ชช.(ด้านส่งเสริมพัฒนา) 2. นวก.สธ./เภสัชกร/พยาบาลวิชาชีพ/นิติกร/นักวิเคราะห์นโยบายฯ ตั้งแต่ชำนาญการขึ้นไป / จพง.สธ. / จพง.เภสัชกรรม ตั้งแต่ระดับชำนาญงานขึ้นไปที่ นพ.สสจ.มอบหมาย 3. ผอ.รพศ./ผอ.รพท./ผอ.รพช. 4. นพ./เภสัชกร/พยาบาลวิชาชีพ/นวก.สธ. ตั้งแต่ระดับ ชำนาญการขึ้นไป จพง.เภสัชกรรม/พยาบาลเทคนิค/ จพง.สธ.ตั้งแต่ระดับชำนาญงานขึ้นไปที่ ผอ.มอบหมาย 5. สาธารณสุขอำเภอ/กิ่งอำเภอ และนวก.สธ./พยาบาลวิชาชีพ ตั้งแต่ระดับ ชนก. ขึ้นไป จพง.สธ./พยาบาลเทคนิค ตั้งแต่ระดับ ชนง. ขึ้นไปที่สสอ./สธ.กิ่งอำเภอมอบหมาย 6. หัวหน้า สอ./นวก.สธ./พยาบาลวิชาชีพ ตั้งแต่ระดับ ชนก. ขึ้นไป ประจำสถานีอนามัย เขตท้องที่ ที่รับผิดชอบ ตามที่กระทรวง สาธารณสุข กำหนด
เจ้าพนักงานสาธารณสุข ส่วนท้องถิ่น 1. ผอ.สำนักอนามัย/ผอ.กองสอ./กองสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม กทม. 2. หน.ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สนง.เขต กทม. เขตท้องที่ ที่รับผิดชอบ ขององค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ 3. ผอ. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เมืองพัทยา 4. ผอ.สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาล 5. ผอ. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาล 6. หน. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาล 7. ผอ.กอง/หน.ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.
2.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน สาธารณสุข 1. แจ้ง จพง.ท้องถิ่นเพื่อออกคำสั่ง เมื่อพบเห็นการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง 2. ออกคำสั่งให้แก้ไขปรับปรุงได้ กรณีที่เป็นอันตรายร้ายแรงและ ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน แล้วแจ้ง จพง.ท้องถิ่น ทราบ ม. 46
สรุปบทบาทของเจ้าพนักงานสาธารณสุข บทบาทหลัก คือ ปฏิบัติหน้าที่เพื่อ สนับสนุน/ให้ข้อเสนอแนะ ให้ข้อวินิจฉัยทางวิชาการ เจ้าพนักงานท้องถิ่น ในการปฏิบัติการ ตาม พรบ.สธ. 1. ร่วมพิจารณายกร่างข้อกำหนดของท้องถิ่นเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์ มาตรฐานด้านสุขลักษณะ 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการที่ขออนุญาต 3. ตรวจตราสถานประกอบการตามข้อกำหนดฯ 4. เสนอแนะทางวิชาการในกรณี 5. เสนอข้อวินิจฉัยกรณีมีเหตุร้องเรียน และข้อเสนอแนะในการแก้ไข 6. เผยแพร่ความรู้เรื่องกฎหมายสาธารณสุข แก่ประชาชน/ผู้ประกอบการ มีการฝ่าฝืน ข้อกำหนดของท้องถิ่น ที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นต้องออกคำสั่งปรับปรุง แก้ไข/พักใช้/ หยุดกิจการ แล้วแต่กรณี กรณีพิจารณาอุทธรณ์ ศูนย์กฎหมาย สธ. กรมอนามัย
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง จากเจ้าพนักงานท้องถิ่น ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง จากเจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นที่ เจ้าพนักงานท้องถิ่นแต่งตั้ง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 44 วรรคหนึ่งในเขตอำนาจของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น ในเรื่องใดหรือทุกเรื่องก็ได้
ศูนย์กฎหมาย สธ. กรมอนามัย (1) เรียกบุคคลมาให้ถ้อยคำ ทำคำชี้แจงหรือส่งเอกสาร (2) เข้าไปในอาคารหรือสถานที่ใดๆในระหว่างพระ อาทิตย์ขึ้น-ตก หรือในเวลาทำการเพื่อตรวจสอบ ควบคุม หรือดูหลักฐาน (3) แนะนำให้ผู้ประกอบการปฏิบัติให้ถูกต้องตาม เงื่อนไขหรือข้อกำหนดของท้องถิ่น (4) ยึดหรืออายัด สิ่งของใดๆที่อาจเป็นอันตราย เพื่อดำเนินคดี หรือทำลายในกรณีที่จำเป็น (5) เก็บหรือนำ สินค้า หรือสิ่งของใดๆที่ สงสัย หรืออาจก่อเหตุรำคาญในปริมาณที่สมควร เพื่อเป็นตัวอย่างในการตรวจสอบ โดยไม่ต้อง ใช้ราคา 1) เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 2) เจ้าพนักงาน สาธารณสุข 3) ผู้ได้รับแต่ง ตั้งจาก จพง. ม.44 ต้องแสดงบัตร จพง.เสมอ ศูนย์กฎหมาย สธ. กรมอนามัย
การแสดงบัตรประจำตัวเจ้าพนักงาน ม. 44 วรรคสาม บัตรประจำตัวตามที่กำหนดในกฎกระทรวง แบบบัตรประจำตัวเจ้าพนักงานฯ พ.ศ. 2548 2) ต้องแสดงบัตรประจำตัวฯต่อบุคคล ซึ่งเกี่ยวข้องในขณะปฏิบัติหน้าที่ 3) ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องอำนวยความสะดวก ตามสมควร
ม. 47 จพส. จพถ. ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม พ.ร.บ. นี้ เป็นพนักงานฝ่ายปกครอง/ตำรวจ ตาม ป.วิธีพิจารณาความอาญา ม. 47 ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งจาก จพถ. จพส. จพถ. เป็นเจ้าพนักงานตาม ป.อาญา
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งเจ้าหน้าที่ตรวจแนะนำ การร้องเรียน หนังสือ/จดหมาย สื่อมวลชน โทรศัพท์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สสจ. /สสอ. / สอ. /รพ. ทสจ. /ปศุสัตว์จ. /อุตสาหกรรม จ. ตั้งคณะกก.ตรวจแนะนำ ส่งเจ้าหน้าที่ตรวจแนะนำ แนวทางการตรวจแนะนำ 3 ขั้นตอน
กรณีตัวอย่าง เรื่องเหตุรำคาญจากมูลฝอยติดเชื้อ เหตุเกิดในเขตเทศบาลเมืองมีผู้ร้องเรียนว่า ได้รับผลกระทบจากกองมูลฝอยติดเชื้อจำนวนหลายสิบตัน ส่งกลิ่นเหม็น มีแมลงวันจำนวนมาก สภาพไม่น่าดู ไม่มีการจัดการใดๆ เกรงว่าจะเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรค โดยที่บริษัทรับเก็บ ขน มูลฝอยติดเชื้อมาจากสถานบริการสาธารณสุขแล้วนำมากองทิ้งไว้ ไม่นำไปกำจัดให้ถูกสุขลักษณะ ได้ร้องเรียนไปยังหลายหน่วยงาน นพ.สสจ. เมื่อได้รับเรื่องร้องจึงจึงสั่งการให้ สสอ. ในพื้นที่ไปตรวจสอบข้อเท็จจริงและดำเนินการตามกฎหมายการสาธารณสุข ถ้าท่านเป็น สสอ. ในฐานะเจ้าพนักงานสาธารณสุขที่ นพ.สสจ.มอบหมายให้ไปตรวจสอบข้อเท็จจริง ท่านจะดำเนินการอย่างไร? 27 27
การรับเรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญ 1) ต้องมีช่องทางร้องเรียน 2) ต้องมีผู้รับผิดชอบดำเนินการ 3) สอบถามชื่อผู้ร้อง/สถานที่/เหตุที่เดือดร้อน /เขตท้องที่ที่เกิดเหตุ 4) บันทึกข้อมูล 5) กรณีที่ยังไม่ได้ร้องเรียน อปท. แนะนำ ให้ร้องเรียนไปที่ อปท. ก่อน
การตรวจสอบข้อเท็จจริง (ขั้นตอนการเตรียมการ) 1 การพิจารณาประเด็นการร้องเรียน การศึกษาข้อกฎหมาย/หลักเกณฑ์มาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติ เตรียมอุปกรณ์และเอกสารในการตรวจสอบข้อเท็จจริง กล้องถ่ายรูป อุปกรณ์สำหรับเก็บตัวอย่าง บัตรประจำตัวเจ้าพนักงานตามกฎหมายสาธารณสุข คู่มือพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535/กฎหมายอื่น แบบตรวจแนะนำของ จพง. (แบบ นส. 1)
การตรวจสอบข้อเท็จจริง (ขั้นตอนการเตรียมการ) 1 4) ประสานพื้นที่ เช่น สสอ. สอ. และอปท. 5) ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นทีมตรวจสอบ เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัด และปศุสัตว์จังหวัด 6) ประสานผู้ร้องเรียน 7) นัดหมายทีมในการเข้าไปตรวจสอบข้อเท็จจริง
การตรวจสอบข้อเท็จจริง(ขั้นตอนการเข้าไปตรวจสอบ) 1 1) แนะนำตนเอง แจ้งวัตถุประสงค์พร้อมแสดงบัตร ประจำตัวเจ้าพนักงาน 2) แจ้งสิทธิ/หน้าที่ให้ผู้ร้องเรียนและผู้ถูกร้องเรียนทราบ 3) ในการเข้าตรวจสถานที่ต้องตรวจพร้อมกับเจ้าของ สถานประกอบการเสมอ
การตรวจสอบข้อเท็จจริง(ขั้นตอนการเข้าไปตรวจสอบ) 1 การตรวจสอบข้อเท็จจริง(ขั้นตอนการเข้าไปตรวจสอบ) ในสถานประกอบการ หรือที่เกิดเหตุ นอกสถานประกอบการ หรือที่เกิดเหตุ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลกระบวนการผลิต ประเภทมลพิษ/ของเสีย และการควบคุมบำบัด อื่นๆ ข้อมูลทั่วไป การตรวจวัดคุณภาพ สิ่งแวดล้อม สำรวจข้อมูลทางสังคม สำรวจข้อมูลทางระบาดวิทยา ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ
1 การตรวจสอบข้อเท็จจริง(ขั้นตอนการเข้าไปตรวจสอบ) กรณีพบว่าเป็นเหตุรำคาญ ให้ออกคำแนะนำตามแบบ 3 ตอน(โดย มอบ ผปก./เสนอ จพถ./เก็บที่ จพส. ) - ระบุสาเหตุ และข้อเท็จจริง - ระบุข้อปฏิบัติที่ต้องแก้ไขที่ชัดเจน - ให้ลงลายมือชื่อรับทราบ(ผู้ตรวจ และผู้ถูกร้อง) รายงานผลการตรวจแนะนำให้ผู้บังคับบัญชาทราบ (ถ้าไม่เป็นเหตุรำคาญ ให้ยุติเรื่อง และแจ้งผู้ร้อง)
1 การตรวจสอบข้อเท็จจริง(ขั้นตอนการติดตามผล) กลับเข้าไปตรวจสภาพสถานประกอบการ/ที่เกิดเหตุเมื่อครบกำหนดเวลาตามที่กำหนดไว้ในคำแนะนำ จัดทำบันทึกรายงานผู้บริหารตามลำดับชั้น ( ปท. 1 ) เพื่อเสนอให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นออกคำสั่งทางปกครองต่อไป กรณีที่ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำ
องค์ประกอบตามกฎหมาย 2 ตรวจสอบการออกข้อบัญญัติ ไม่มีข้อบัญญัติ หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มีใบอนุญาต ตรวจสอบการขอใบอนุญาต (มาตรา 33) ไม่มีใบอนุญาต ไม่ถูกต้องตามข้อบัญญัติ ถูกต้องตามข้อบัญญัติ ออกคำสั่งให้แก้ไข (ม. 45) ใช้หมวด 5 เหตุรำคาญ มีความผิด ดำเนินคดี
องค์ประกอบตามกฎหมาย 2 หมวด 5 เหตุรำคาญ ตรวจสอบข้อเท็จจริง หมวด 5 เหตุรำคาญ ตรวจสอบข้อเท็จจริง ไม่เป็นเหตุรำคาญ เป็นเหตุรำคาญ(ม. 25) แจ้งผู้ร้อง แบบตรวจแนะนำ (แบบ นส. 1) เรื่องยุติ รัฐศาสตร์ + สังคม
ประโยชน์ของการตรวจแนะนำ เพื่อให้ผู้ประกอบการ/ผู้ก่อเหตุ ปฏิบัติตามกฎหมาย เป็นการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ โดยที่ยังไม่ ต้องใช้มาตรการบังคับทางปกครองที่ยุ่งยากหรือ เสียหายกับทุกฝ่าย เป็นความชอบด้วยกฎหมายที่จะไปออกเป็นคำสั่ง ทางปกครองต่อไป
แบบตรวจแนะนำของเจ้าพนักงานตามมาตรา 44 (3) แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 สำหรับ ผปก. / จพถ. / จพส. 1. วันที่..... เดือน ........... พ.ศ. ........ 2. ชื่อ เจ้าของ/ผู้ครอบครอง ............................................. 3. สถานประกอบการชื่อ .................. กิจการ ....................... ตั้งอยู่เลขที่........ ถนน.............. ตำบล........... อำเภอ............... จังหวัด................โทร. .......... 4. ข้อแนะนำ (เพื่อการปรับปรุงแก้ไข) (1) ............................................................................................................ (2) ............................................................................................................ ภายใน..........วัน มิเช่นนั้น จะดำเนินการออกคำสั่งทางปกครองต่อไป อนึ่ง หากท่านมีข้อโต้แย้ง ให้จัดส่งคำโต้แย้งต่อ จพถ.ภายในกำหนดเวลา....วัน ลงชื่อ ......................... ลงชื่อ ......................... ( ....................... ) ( ....................... ) เจ้าของ /ผู้ครอบครอง เจ้าพนักงาน ...............
การใช้หลักรัฐศาสตร์และสังคม การเจรจาไกล่เกลี่ย แยกการเจรจาที่ละฝ่าย เจรจากับผู้ร้องก่อน เพื่อหาเงื่อนไขในการแก้ไขปัญหาที่ยอมรับได้ เจรจากับผู้ถูกร้อง - ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไข หรือวิธีการอื่นๆเพื่อลดปัญหาการร้องเรียน - แจ้งความผิดให้ทราบ (ใช้เมื่อจำเป็นเท่านั้น)
ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาเหตุรำคาญ 1 2 กรณีร้องเรียน กรณีตรวจตรา จพถ. /จพส. ต้องตรวจ ข้อเท็จจริงเสมอ [ม.44 (1)-(5)] เป็นเหตุรำคาญ ไม่เป็นเหตุรำคาญ เหตุรำคาญธรรมดา ฝ่าฝืนข้อกำหนดของท้องถิ่นด้วย แจ้งผู้ร้อง เรื่องยุติ ดำเนินการตามมาตรา 27,28 อันตรายร้ายแรงต้องแก้ไขเร่งด่วน ออกคำสั่งตาม มาตรา 45 สั่งหยุดทันที (ม.45 / ม.46 ว.2) 1 2
การดำเนินการแก้ไขเหตุรำคาญตามมาตรา 27 มาตรา 28 1 การดำเนินการแก้ไขเหตุรำคาญตามมาตรา 27 มาตรา 28 ออกคำสั่ง ม.27 ม.28 ผู้ก่อเหตุ (ที่สาธารณะ) เจ้าของ/ผู้ครอบครอง (สถานที่เอกชน) ปฏิบัติตาม เรื่องยุติ ไม่ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ ดำเนินคดี (อันตราย) เข้าดำเนินการโดยคิดค่าใช้จ่าย จพถ.เข้าจัดการโดยคิดค่าใช้จ่ายจากเจ้าของ (อันตราย) สั่งห้ามใช้สถานที่
การออกคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น 2 การออกคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ออกคำสั่งปรับปรุง /แก้ไข(ม.45) แก้ไข ไม่แก้ไข (ไม่มีเหตุอันควร) ออกคำสั่งให้หยุด(ม.45) /พักใช้ใบอนุญาต(ม.59) เรื่องยุติ ผิด (1) สั่งหยุด/พักใช้ ผิด (3) ไม่หยุด หยุด /แก้ไข ผิด (4) สั่งเพิกถอน ผิด (2) ยังผิด (1) ดำเนินการฟ้อง
การตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมาย ๓. การกระทำชอบหรือไม่ ๒. ถูกต้องตามขั้นตอนและวิธีการอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ ๑. มีอำนาจตามกฎหมายหรือไม่
รูปแบบและผลของคำสั่งทางปกครอง คำสั่งที่เป็นหนังสือ อย่างน้อยต้องระบุ (ม.36 วิ.ปค.) วัน เดือน ปี ที่ทำคำสั่ง ชื่อและตำแหน่ง ของผู้ทำคำสั่ง ลายมือชื่อ ของผู้ทำคำสั่ง ศูนย์กฎหมาย สธ. กรมอนามัย
ต้อง จัดให้มีเหตุผล ไว้ด้วย เหตุผลอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย การออกคำสั่งทางปกครอง ต้อง จัดให้มีเหตุผล ไว้ด้วย เหตุผลอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ ข้อกฎหมายที่อ้างอิง ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุน ในการใช้ดุลพินิจ คำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้งได้ (4) แจ้งสิทธิการโต้แย้ง /อุทธรณ์
(ตราครุฑ) ที่ ......./........ สำนักงานเทศบาล (อบต.) ............. วันที่....เดือน........... พ.ศ......... เรื่อง คำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ระงับเหตุรำคาญ เรียน ...................................................... ตามที่เทศบาลได้รับแจ้งว่าท่านซึ่งประกอบกิจการที่บ้านเลขที่....... ถนน............ ตำบล............. อำเภอ.............จังหวัด........... ได้ก่อให้เกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อยู่อาศัยข้างเคียง เทศบาลจึงได้ส่ง นาย/นาง/น.ส. ..................ตำแหน่ง .....................เจ้าพนักงานสาธารณสุข ไปตรวจสอบ เมื่อวันที่............... พบว่า.......(สภาพข้อเท็จจริง) ........... ตัวอย่างแบบออกคำสั่ง
จึงพิจารณาเห็นว่าเป็นเหตุรำคาญตามบทบัญญัติมาตรา 25 (. ) แห่งพรบ จึงพิจารณาเห็นว่าเป็นเหตุรำคาญตามบทบัญญัติมาตรา 25 (...) แห่งพรบ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535 และโดยที่เจ้าพนักงานสาธารณสุขได้ตรวจแนะนำตามอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 44 (3) แล้ว ปรากฏว่า ท่านมิได้ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของเจ้าพนักงานสาธารณสุข ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคำแนะนำ (เป็นข้อสนับสนุนให้ใช้ดุลพินิจออกคำสั่งซึ่งอาจมีเหตุผลอื่นๆ ก็ได้) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 28 แห่ง พรบ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ออกคำสั่งให้ท่านปรับปรุงแก้ไขและระงับเหตุรำคาญ ดังนี้ (1) ...................................................................................... (2) ...................................................................................... ภายในกำหนด....วัน (ตามความเหมาะสม) นับแต่วันที่ได้รับคำสั่งนี้
หากไม่ปฏิบัติตามคำสั่งภายในระยะเวลาดังกล่าว จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 2,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ ตามมาตรา 74 (แล้วแต่กรณีความผิด) อนึ่ง หากท่านไม่พอใจคำสั่งหรือเห็นว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม ท่านมี สิทธิอุทธรณ์คำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นนี้ต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ ภายใน 30 วันนับแต่วัน ที่ได้รับทราบคำสั่งนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดดำเนินการตามคำสั่งข้างต้นด้วย ขอแสดงความนับถือ ........................................ (..................................) ตำแหน่ง ..............................เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ผู้ ใดที่ได้รับคำสั่งและไม่พอใจ การอุทธรณ์ คำสั่งให้ เป็นที่สุด ผู้ ใดที่ได้รับคำสั่งและไม่พอใจ คำสั่งของ จพง.ท้องถิ่น ม.21, ม.22 สุขลักษณะอาคาร ม.27 ว.1, ม.28 ว.1,ว.3 เหตุรำคาญ ม.45 สั่งแก้ไข/หยุดกิจการ ม.48 ว.5 ให้การแจ้งเป็นการสิ้นสุด ม.52 สั่งหยุด/ห้าม (ไม่เกิน 2 ปี) ม.65 ว.2 สั่งหยุด (ไม่เสียค่าธรรมเนียม) สั่งไม่ออก/ไม่ต่ออายุ/เพิกถอน คำสั่งของ จพง.สาธารณสุข ม.46 ว.2 สั่งกรณีร้ายแรง รัฐมนตรีว่าการ กระทรวง สาธารณสุข มีสิทธิอุทธรณ์ได้ ภายใน 30 วัน
การเปรียบเทียบคดี 1.คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี กทม. ต่าง จว. - ผู้แทน กทม. - ผู้แทน สนง.อัยการสูงสุด - ผู้แทนสำนักงานตำรวจฯ - ผู้ว่าราชการจังหวัด - อัยการจังหวัด - ผู้บังคับการตำรวจภูธร จังหวัด กทม. บรรดาความผิดที่ เห็นว่าผู้ต้องหาไม่ สมควรได้รับโทษ จำคุก/ถูกฟ้องร้อง 1.คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี ต่าง จว. 2. เจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือผู้ซึ่งเจ้าพนักงาน ท้องถิ่นมอบหมาย ความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว/ โทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับ ไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ขั้นตอนการเปรียบเทียบปรับและการดำเนินคดี พบการกระทำความผิด (ฝ่ายสาธารณสุข) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินคดี เขต กทม. เมืองพัทยา - ฝ่ายเทศกิจ เขตเทศบาล - นิติกร /กองวิชาการ เขต อบจ. อบต. - ปลัดฯ/จนท.สนง.ปลัด รวบรวมหลักฐาน 4 ประการ 1. รายงานการตรวจของ จนท.(ปท.1) 2. คำสั่งทางปกครองของ จพง.ท้องถิ่น 3. พยานหลักฐาน (ถ้ามี) 4. ตรวจสอบตัวผู้กระทำความผิด(ปท.7) เรียกตัวผู้กระทำความผิดมาพบ(ปท.2) แจ้งข้อกล่าวหา ไม่มาพบ ยินยอมรับผิดตามข้อกล่าวหา ไม่ยินยอมรับผิดตามข้อกล่าวหา ร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน
ขั้นตอนการเปรียบเทียบปรับและการดำเนินคดี (ต่อ) ขั้นตอนการเปรียบเทียบปรับและการดำเนินคดี (ต่อ) ผู้กระทำผิดยินยอมรับผิดตามข้อกล่าวหา เจ้าหน้าที่บันทึกข้อกล่าวหา สอบปากคำ(ปท.3)/ สรุปสำนวนแจ้ง(ปท.4) เจ้าพนักงานท้องถิ่นเปรียบเทียบปรับ(ปท.5) คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี เปรียบเทียบปรับ(ปท.5) เจ้าหน้าที่รับชำระค่าปรับ ร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน (ปท. 6) ยินยอมให้ปรับ ไม่ยินยอมให้ปรับ
มีการฝ่าฝืน/กระทำความผิด ดำเนินการสืบสวน/สอบสวน การดำเนินคดีทางศาล มีการฝ่าฝืน/กระทำความผิด ผู้เสียหาย จพท./ผู้รับมอบฯ ร้องทุกข์ จพง.สอบสวน ดำเนินการสืบสวน/สอบสวน - ให้ข้อมูล - พยาน จพง.อัยการ สั่งไม่ฟ้อง สั่งฟ้อง ฟ้องเอง ศาล ไต่สวนมูลฟ้อง สืบพยาน พิพากษา ยกฟ้อง ประทับฟ้อง
การควบคุมป้องกันและดูแลมิให้เกิดปัญหาในระยะยาว อปท.มีการออกข้อบัญญัติและกำหนดหลักเกณฑ์รายละเอียด การควบคุมป้องกันในการประกอบกิจการ การพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงาน ตรวจสอบก่อนออกใบอนุญาต และก่อนต่อใบอนุญาตทุกปี สร้างความมีส่วนร่วมของชุมชน ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการใช้เทคโนโลยีสะอาดในการผลิต ฯ ลฯ
ตัวอย่าง การอุทธรณ์คำสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น เรื่องร้านอาหารก่อให้เกิดเสียงดังจากเสียงเพลงและดนตรี อุทธรณ์ที่ ต 3/2551 (19 มี.ค. 2551) มีผู้ร้องเรียนต่อเทศบาลนครนครศรีธรรมราช (4 ก.ค. 50) ผู้อุทธรณ์ ประกอบการกิจการร้านอาหารคันทรี่โฮม ณ เลขที่...อ.เมือง จ.นครศรธรรมราชก่อเหตุรำคาญเสียงดังจากเสียงเพลงและดนตรี ทน.(11 ก.ค. 51) ตรวจสอบแล้วพบว่า.... มีการกระทำจริงตามที่ร้องเรียน จึงได้แนะนำให้แก้ไขเพื่อให้ลดเสียงแต่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ จึงนัดประชุมร่วมกันและตกลงให้ผู้อุทธรณ์กั้นผนังทึบเพื่อป้องกันมิให้เสียงดังออกไปภายนอกเกินสมควร แต่มิได้กระทำตาม จึงออกคำสั่ง... (มีใบอนุญาตสถานที่จำหน่ายอาหาร19 ธ.ค. 49 ใบอนุญาตกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 12 ก.ค. 50 และใบอนุญาตสถานบริการ 16 ม.ค. ) ซึ่งศอ. 11 นครศรีธรรมราชตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่า....
ติดกับอาคารพาณิชย์ด้านทิศเหนือ ร้านอาหารคันทรี่โอม
อัมรินทร์อพาตเมนท์ ด้านทิศเหนือของลานจอดรถยนต์
ชุมชนแออัด 10 หลังคาเรือน
บ้านที่อยู่อาศัย ประมาณ 6 หลังคาเรือน ด้านทิศตะวันออก (ผู้ร้องเรียน)
ตัวอย่าง การอุทธรณ์คำสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น เรื่องสถานที่เลี้ยงสุนัขมีกลิ่นเหม็นจากการถ่ายมูลและเห่าหอนเสียงดัง อุทธรณ์ที่ 20/2550 ( ม.ค. 2551) มีผู้ร้องเรียนต่อเทศบาลเมืองสระบุรี 2 ครั้ง (ก.พ. / เม.ย.50) สุนัขของผู้อุทธรณ์ถ่ายมูลมีกลิ่นเหม็นและเห่าหอนเสียงดังรบกวนผู้อาศัยในบริเวณใกล้เคียงได้ตรวจสอบ 3 ครั้ง(20 มี.ค./5 เมย./20 เมย.50) ตรวจสอบแล้วพบว่า.... มีการเลี้ยงสุนัขไว้ 40 ตัว โดยไม่ดูแลกำจัดมูลสุนัขให้ถูกสุขลักษณะทำให้เกิดกลิ่น และสุนัขส่งเสียงเห่าหอนทั้งกลางวันและกลางคืน จึงได้ให้คำแนะนำถึง 3 ครั้ง ในวันที่ไปตรวจสอบ แต่ผู้อุทธรณ์มิได้ปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่กำหนด จพถ. จึงออกคำสั่งตาม ม. 28 ลงวันที่ 21 พ.ค. 50 ให้ปรับปรุงแก้ไขและระงับเหตุรำคาญ โดยจัดหาที่เลี้ยงนอกเขตชุมชนภายใน 30 วันซึ่งศอ. 2 สระบุรี ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว พบว่า...........
สอบถามผู้พักอาศัยบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมีระยะห่างจากคอกสุนัข ประมาณ 30-50 เมตร
สถานที่เลี้ยงสุนัข 28-40 ตัว ตั้งห่างจากถนนประมาณ 5 เมตร
สรุปโครงสร้างอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.สธ. กฎ/ประกาศกระทรวง รมต. แต่งตั้ง คณะ กก.สธ. อธิบดีกรมอนามัย สนับสนุน สอดส่องดูแล แจ้ง จพง. สธ. คณะอนุกก. ราชการส่วนท้องถิ่น จพง.ท้องถิ่น ออกข้อกำหนด อนุญาต/ไม่อนุญาต ออกคำสั่ง อุทธรณ์ ผู้ได้รับแต่งตั้ง ออกคำสั่ง ตาม ม.8 ผปก./เอกชน/ประชาชน มีการฝ่าฝืน พรบ. คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี จพง.ท้องถิ่น/ผู้ได้รับมอบหมาย เปรียบเทียบคดี(ปรับ) ดำเนินคดีทางศาล ศูนย์กฎหมาย สธ. กรมอนามัย 68 68
สรุปลักษณะการใช้อำนาจตามกฎหมายสาธารณสุข กิจการที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ อปท. ดำเนินการ การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย กิจการที่ให้ อปท. ควบคุมดูแลรับผิดชอบใน ๓ ลักษณะ กรณีควบคุมให้เป็นไปตามกฎหมายการสาธารณสุข สุขลักษณะของอาคาร เหตุรำคาญ การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ การออกใบอนุญาต กิจการรับเก็บ ขน หรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยคิดค่าบริการ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การจัดตั้งตลาด กิจการสถานที่จำหน่ายหรือสะสมอาหารพื้นที่เกิน ๒๐๐ ตร.ม. การจำหน่ายสินค้าในที่และทางสาธารณะ ออกใบรับ และหนังสือรับรองการแจ้ง (1) กิจการสถานที่จำหน่ายหรือสะสมอาหารพื้นที่ไม่เกิน ๒๐๐ ตร.ม. 69
สรุปรูปแบบการใช้อำนาจตามกฎหมายสาธารณสุข ใช้อำนาจได้ต่อเมื่อมีคำขอของคู่กรณี การออกใบอนุญาตต่าง ๆ การออกหนังสือรับรองการแจ้ง ใช้อำนาจได้โดยไม่จำเป็นต้องมีคำขอของคู่กรณี กรณีปรากฏเหตุเดือดร้อนรำคาญ กรณีปรากฏเหตุที่จะริเริ่มใช้อำนาจได้ 70
การคุ้มครองประชาชนของกฎหมายสาธารณสุข กิจการที่ต้องควบคุมตามกฎหมาย กิจการทั่วไป สถานที่สะสมอาหาร การเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์ กิจการตลาด กิจการร้านอาหาร กิจการเก็บ ขน/กำจัดสิ่งปฏิกูล/มูลฝอย(ธุรกิจ) กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ( 135 ประเภท) การขายสินค้าในที่/ทางสาธารณะ บ้าน/ ครัวเรือน/ ชุมชน โรงเรียน/ สถานศึกษา วัด/ ศาสนสถาน สถานีขนส่ง/ สถานีรถไฟ สถานพยาบาล สถานประกอบกิจการอื่น ๆ ประกาศเพิ่ม ก่อนประกอบการ ต้องขอ อนุญาต /แจ้ง ต้องปฏิบัติ ให้ถูก สุขลักษณะ ต้องกำจัด สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย ต้องดูแล อาคารให้ถูก สุขลักษณะ ต้องไม่ก่อ เหตุรำคาญ เจ้าพนักงานท้องถิ่น ราชการส่วนท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น 71 71
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข WEB SITE ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4175, 0-2590-4223, 0-2590-4252, 0-2590-4256 โทรสาร 0-2591-8180