ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

1 คำขอฯ ปี 2558 งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร ปี 2558 งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรรปี 2557 ผลต่าง 236,373, ,500,00077,525,190-25,190 เงินกองทุนเพื่อการส่งคนต่างด้าว.
หน่วย : ล้าน บาท ผลการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี พ. ศ ปี พ. ศ. จำนวนเงิน ที่ขอกัน เบิกจ่ายร้อยละ ,
สถิติการอนุมัติและยืนยันข้อมูลหลัก ผู้ขาย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ เดือนจำนวนที่ อนุมัติและ ยืนยัน จำนวนที่ เปลี่ยนแปลง รวม ตุลาคม พฤศจิกายน.
สถานการณ์การเงิน การคลัง ประจำเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๗.
1. เดือนตุลาคม มีนาคม 2552 ภาพรวม ร้อยละ 46 เป้าหมายสิ้นไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ ไตรมาส ที่ ไตรมาส ที่ 2 46 ไตร มาสที่ 3 70 ไตรมาส ที่
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 38, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.30%) งบ บุคลากร ลบ. (0.20%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.10%) งบลงทุน 37,
การปฏิบัติงานด้านระบบ การบริหารการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สำนักงานคลังจังหวัด หนองคาย ประจำเดือน ธันวาคม 2555 ปีงบประมาณ พ. ศ
รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มกราคม 2556 รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ.
โดย งานการเงินและ บัญชี. งบประจำ / ลงทุน ล้านบาท งบประจำ / ลงทุน ล้านบาท เบิกจ่าย / ก่อหนี้ ล้านบาท เบิกจ่าย / ก่อหนี้ ล้านบาท.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ สิ้นสุด ณ วันที่ 2 สิงหาคม 2556 รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ.
การปฏิบัติงานด้านระบบ การบริหารการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สำนักงานคลังจังหวัด หนองคาย ประจำเดือน กันยายน 2555 ปีงบประมาณ พ. ศ
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
สถานการณ์การเงิน การคลัง ประจำเดือน กันยายน ๒๕๕๗.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
1 ปฏิทิน งบประมา ณ กันยายน 2555 อนุมัติแผนปฏิบัติงาน 5 แผนหลัก 76 แผน ย่อย 1-15 ตุลาคม จัดทำ Action Plan ทุก หน่วยงาน - ส่งโครงการจังหวัดให้
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1 สรุปจำนวนโครงการและวงเงินคำของบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการ ปี 2551 ของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค รวมทั้งสิ้น 727 โครงการ งบประมาณ 1, ล้านบาท.
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 29 ก.พ. 55.
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 23 ธ.ค.54.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2558 ( ทั้งหมด ) หน่วยงานงบประมาณที่ ได้รับ เบิกจ่ายแล้วร้อยละ สสจ. พังงา 47,540, ,635, รพท. พังงา 23,799, ,435,
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี ติดตามงานแผนกล ยุทธ์ ปี เจ้าภาพ กบส./ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
แนวทางการบริหารจัดการ และการเบิกจ่าย งบประมาณ ปี 2559 โดย ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กรอบการประเมิน 4 มิติ DPIS (1/59)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (การบริหารงบประมาณ)
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การปฏิบัติงานในระบบ GFMISช่วงสิ้นปีงบประมาณ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณงบดำเนินงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ * การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน* * การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม* * นำผลการเบิกจ่ายจากระบบ GFMIS มาเป็นผลการประเมิน กองคลัง 17 พ.ย. 2559

1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเด็นการประเมินผล : การประเมินประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 15 : ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 คะแนนตัวชี้วัด : 5 คะแนน ความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงาน ประเมินจากอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2 ประเภท คือ 1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน

มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2559) กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณรายไตรมาส ประกอบด้วย *** เป้าหมายการเบิกจ่ายงบภาพรวม ณ สิ้นไตรมาส 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96 ของวงเงิน ที่ได้รับจัดสรรและเร่งรัดการเบิกจ่ายรายไตรมาสให้ได้ร้อยละ 30, 52, 73 และ 96 ในไตรมาสที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ *** เป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ณ สิ้นไตรมาส 4ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 87 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรรและเร่งรัดการเบิกจ่ายรายไตรมาสให้ได้ ร้อยละ 19, 40, 61 และ 87 ในไตรมาสที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ

กรมอนามัยกำหนดเกณฑ์ประเมินการเบิกจ่าย : กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย ตามมติ ค.ร.ม. โดยประเมินการเบิกจ่าย ณ เดือนที่ 5 และ 10 ของปีงบประมาณ พ.ศ.2560 * การคำนวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม/รายจ่ายลงทุน จะไม่รวมเงินงบที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ (ในส่วนที่ได้รับการจัดสรรเงินหลังวันที่ 30 มิถุนายน 2560) และไม่รวมงบประมาณที่ส่วนราชการประหยัดได้ และไม่ได้นำเงินดังกล่าวไปใช้ในภารกิจหรือโครงการอื่นต่อ ทั้งนี้ให้ส่วนราชการรายงานวงเงินงบประมาณที่ประหยัดได้ (งบประมาณเหลือจ่าย) เพื่อใช้ประกอบการประเมินผล * * ในกรณีที่ส่วนราชการนำเงินงบประมาณที่ประหยัดได้จากโครงการเดิมไปใช้ในโครงการอื่น ๆ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของโครงการใหม่จะนำมาใช้คำนวณอัตราการเบิกจ่ายด้วย

**** เกณฑ์การให้คะแนน **** การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 1.การเบิกจ่ายภาพรวมของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่หน่วยงานได้รับ 2.การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่ หน่วยงานได้รับ ***** หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหว่างปี (รายจ่ายประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำ) จะนำยอดงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็นฐานในการคำนวณ *****

เกณฑ์การประเมินผลหน่วยงานเป็น 2 กลุ่มคือ 1. หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ * สูตรการคำนวณ : ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม = ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม X 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่หน่วยงานได้รับ 2. หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ ** สูตรการคำนวณ : ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน = ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน X 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่หน่วยงานได้รับ

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560) กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560) 1.00 40 41 42 43 44 รวม

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนหลัง ( มีนาคม 2560 - กรกฎาคม 2560) กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560) 1.00 77 78 79 80 81 รวม

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 - กุมภาพันธ์ 2560) กรณีมีงบลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ภาพรวม 0.6 40 41 42 43 44 งบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 29 30 31 32 33

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560) กรณีมีงบลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ภาพรวม 0.6 77 78 79 80 81 งบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 67 68 69 70 71

มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

เงื่อนไขเพิ่มเติมในการให้คะแนนงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาส 1 หากหน่วยงานไม่สามารถดำเนินการได้ตามกรณีที่ 1 2 หรือ 3 (ตามงบรายจ่ายลงทุนที่หน่วยงานได้รับการจัดสรร) จะถูกหักคะแนนออกจากคะแนนก่อนถ่วงน้ำหนักเป็นกรณี ๆในข้างต้น ตัวอย่าง หน่วยงาน ก. เบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนได้ร้อยละ 33 (เท่ากับ 5 คะแนน) แต่มีงบรายจ่ายลงทุนที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ลบ. จำนวน 8 รายการ แต่ไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายได้ภายในไตรมาสที่ 1 จำนวน 3 รายการ วิธีคำนวณ นำราย 3 รายการที่ไม่สามารถ PO/เบิกจ่ายได้ในไตรมาส 1 หารด้วยรายการ ทั้งหมด คือ 8 รายการ จะได้ 3/8 = 0.3750 นำคะแนนที่ได้ 5 คะแนน มาหักกับคะแนนที่ไม่สามารถ 0.3750 จะได้คะแนน 5 – 0.3750 = 4.6250 ดังนั้น หน่วยงานจะได้คะแนนตามเกณฑ์ที่ = 4.6250 จึงค่อยนำคะแนนไปทำการถ่วงน้ำหนัก (ดังตัวอย่างในสไลด์ถัดไป)

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 - กุมภาพันธ์ 2560) - กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก(Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ คะแนน (SMi) 1 2 3 4 5 1. ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม   รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560) 1.00 40 41 42 43 44 SM1 รวม

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน รอบ 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2560 - กรกฎาคม 2560) - กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก(Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ คะแนน (SMi) 1 2 3 4 5 ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม   รอบ 5 เดือนหลัง ( มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560) 1.00 77 78 79 80 81 SM1 รวม

รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560 ) - กรณีมีงบลงทุน ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก (Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 1 2 3 4 5 1.ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม   ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 0.6 40 41 42 43 44 SM2 (W2xSM2) ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 29 30 31 32 33 SM3 (W3xSM3) รวม 1.0 (WixSMi)

รอบ 5 เดือนหลัง ( มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560 ) - กรณีมีงบลงทุน ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก (Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 1 2 3 4 5 1.ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม   ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 0.6 77 78 79 80 81 SM2 (W2xSM2) ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 67 68 69 70 71 SM3 (W3xSM3) รวม 1.0 (WixSMi)

ตัวอย่างการคำนวณคะแนน

หมายเหตุ ผลการเบิกจ่าย กองคลังนำผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) มาเป็นผลงานประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด