การอบรมการใช้งานระบบ ระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้าสัตว์น้ำที่ได้จากการจับของเรือประมงไทย 4-5 สิงหาคม 2559.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
บทที่ 6 งบประมาณ.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ระบบบริหารงานบุคคล.
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดอุทัยธานี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1 การนำใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการชุมชน นรินทร บุญพราหมณ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โครงการความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาความยากจน.
ภาพรวมระบบ National Single Window (NSW) เดิม นายธาดา สุวรรณวิมล.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การอบรม ระบบหนังสือบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ eMemo ปี 2560 สำหรับ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ซักซ้อมแนวทางปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบบริหารข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ITAM)
ปัญหาที่พบในการเรียกเก็บชดเชย
SMS News Distribute Service
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอบรมการใช้งานระบบ ระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้าสัตว์น้ำที่ได้จากการจับของเรือประมงไทย 4-5 สิงหาคม 2559

วัตถุประสงค์ของระบบงาน เพื่อเป็นการดำเนินการแก้ไขปัญหา การป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุมของภาคการประมงเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เพื่อให้มีระบบงานรองรับมาตรการการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ประมงที่ส่งไปจำหน่ายยังกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป (EU) เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาคเอกชน มีฐานข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ในการการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน

ระบบบันทึกชั่งน้ำหนักจริงหน้าท่า ระบบตรวจสอบการทำงานของท่าเทียบเรือ ภาพรวมขอบเขตของระบบงาน เรือประมง เข้าท่าเทียบเรือ ระบบบันทึกชั่งน้ำหนักจริงหน้าท่า ระบบตรวจสอบการทำงานของท่าเทียบเรือ

กระบวนการปฏิบัติงาน (Workflow) ของระบบงาน การตรวจสอบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ระบบทบ.2 บันทึกชั่งน้ำหนักจริงหน้าท่า MCPD ผปก.แพปลา ผปก.ด้านการประมง การอนุมัติและออก Catch Cert. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เรือประมง ซื้อ/ขายสัตว์น้ำ Logbook ผปก.ด้านการประมง กรมประมง ตรวจสอบการทำงานของ ท่าเทียบเรือ จนท.ท่าเทียบเรือ ซื้อ/ขายสัตว์น้ำ กรมประมง ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล Stock สัตว์น้ำสำหรับการผลิตสินค้า ใบคำร้องขอ Catch Cert. MCTD ผปก.โรงงานแปรรูป ผปก.โรงงานแปรรูป จนท.ท่าเทียบเรือ

เครื่องมือ vs. ชนิดสัตว์น้ำ? การตรวจสอบความเหมาะสมของการทำการประมง เรือประมง? ประเภท เครื่องมือ vs. ชนิดสัตว์น้ำ? พื้นที่ทำ การประมง? ระยะเวลาทำ การขึ้นทะเบียน ทบ.2 ? ใบอนุญาต ทำการประมง?

เครื่องมือ vs. ชนิดสัตว์น้ำ? การตรวจสอบความเหมาะสมของการทำการประมง กรมเจ้าท่า ประเภท เครื่องมือ vs. ชนิดสัตว์น้ำ? ใบอนุญาตทำการประมง เรือประมง? การขึ้นทะเบียน ทบ.2 ? VMS พื้นที่ทำ การประมง? ใบอนุญาต ทำการประมง? ทบ.2 ระยะเวลาทำ การประมง? Fishing Info (PIPO)

รายการตรวจสอบความเหมาะสมของการทำการประมง เรือ - ข้อมูลทะเบียนเรือ Active - E-License - ข้อมูลใบอนุญาตทำการประมง: ยังไม่หมดอายุ - PIPO (Fishing Info) - ข้อมูลการแจ้งเข้า-แจ้งออก PIPO: มีการบันทึกวันที่แจ้งเข้า และเลขที่ใบแจ้งเข้าครบถ้วน - ข้อมูลการแจ้งเข้า-แจ้งออก PIPO: ชื่อท่าเทียบเรือที่แจ้งว่าจะ Port-in (แจ้งตอน Port-out) ควรจะตรงกับชื่อท่าเทียบเรือที่แจ้ง Port-in จริง

รายการตรวจสอบความเหมาะสมของการทำการประมง - VMS - เลขทะเบียนเรือ, BoxID, สถานะการเปิดสัญญาณ VMS - สถานะเรือประมงเข้าพื้นที่อนุรักษ์ แล้วมี speed ต่ำกว่า 3 knot - สถานะเรือประมงเข้าพื้นที่ 3 ไมล์ทะเล แล้วมี speed ต่ำกว่า 3 knot - สถานะเรือ 2 ลำเข้าเทียบข้างกันในระยะ 50 เมตร แสดงพฤติกรรมการขนถ่ายสัตว์น้ำกลางทะเล - สถานะการขาดส่งสัญญาณเกิน 5 ชม. - ทบ.2 - เป็นผู้ประกอบการที่มีในทะเบียนทบ.2 และทะเบียนยังไม่หมดอายุ - ความเหมาะสมของข้อมูลด้านอื่น ๆ - ชนิดสัตว์น้ำที่จับได้ต้องมีความสอดคล้องกับประเภทเครื่องมือทำการประมงที่ได้รับอนุญาต - น้ำหนักชั่งจริงหน้าท่ารวมของเรือแต่ละลำ แต่ละรอบ PIPO มีสัดส่วนต่างจากน้ำหนักรวมใน Logbook ของเรือลำเดียวกัน ในรอบ PIPO เดียวกันเกิน 10% หรือไม่

สรุปกลุ่มผู้ใช้งานระบบ ผู้ประกอบกิจการ: แพปลา เจ้าหน้าที่ ท่าเทียบเรือ เจ้าหน้าที่ประมงจังหวัด แพปลา, พ่อค้าคนกลาง, ผู้รวบรวม สัตว์น้ำ, โรงงาน โรงงาน กรมประมง WP: บันทึกชั่งจริงหน้าท่า  WP: อนุมัติชั่งจริงหน้าท่า LB: บันทึก Logbook TD: บันทึก MCTD PD: จัดทำ MCPD PD: บันทึกซื้อ/ขายสัตว์น้ำใน MCPD PD: บันทึกตัดน้ำหนักสัตว์น้ำแต่ละ Lot ที่นำไปใช้ในการผลิต CC: ยื่นใบคำร้องขอ Catch Cert. CC: ตรวจสอบใบคำร้องขอ Catch Cert. CC: อนุมัติ Catch Cert. Audit: ตรวจสอบการทำงานของท่าเทียบเรือ

ระบบเครื่องชั่งอัจฉริยะ Application Platform Web Application Mobile Application ระบบเครื่องชั่งอัจฉริยะ ระบบบันทึกชั่งจริงหน้าท่า  ระบบ Logbook ระบบ MCTD ระบบ MCPD ระบบใบรับรองการจับสัตว์น้ำ ระบบตรวจสอบการทำงานของท่าเทียบเรือ

ขอบเขตของระบบงานย่อย: ระบบบันทึกชั่งน้ำหนักจริงหน้าท่า บันทึกน้ำหนักสัตว์น้ำที่ชั่งจริงแต่ละตะกร้า (หรือบรรจุภัณฑ์ชนิดอื่น) ณ ท่าเทียบเรือ หรือ ณ สถานที่ชั่งน้ำหนักสัตว์น้ำที่ซื้อจากเรือเป็นลำดับแรก 1 2 ผู้ประกอบการบันทึกชั่งจริงหน้าท่า ท่าเทียบเรืออนุมัติชั่งจริงหน้าท่า ผู้ประกอบการที่ซื้อสัตว์น้ำจากเรือลำดับแรก (แพปลา / ผู้รวบรวมสัตว์น้ำ / โรงงานแปรรูป) เจ้าหน้าที่ท่าเทียบเรือ

แนวทางการบันทึกข้อมูลชั่งน้ำหนักจริงหน้าท่าเข้าระบบ ผู้ประกอบการจดบันทึกน้ำหนักสัตว์น้ำในกระดาษ แล้วนำ ข้อมูลมากรอกใส่ใน Web Application ผู้ประกอบการชั่งน้ำหนักสัตว์น้ำโดยใช้ระบบเครื่องชั่งอัจฉริยะที่สามารถส่งข้อมูลน้ำหนักสัตว์น้ำเข้าจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่ายได้โดยอัตโนมัติ

ระบบเครื่องชั่งอัจฉริยะ

รูปแบบเลขที่ฟอร์มบันทึกชั่งน้ำหนักจริงหน้าท่า

ขอบเขตของระบบงาน : ระบบ Logbook เจ้าหน้าที่ท่าเทียบเรือ หรือ เจ้าหน้าที่ประมงจังหวัด เจ้าหน้าที่ท่าเทียบเรือ หรือ เจ้าหน้าที่ประมงจังหวัด บันทึก Logbook

รูปแบบเลขที่ฟอร์ม Logbook

ขอบเขตของระบบงานย่อย : ระบบ MCTD (หนังสือกำกับการขนถ่ายสัตว์น้ำ : Marine Catch Transshipping Document) การนำ MCTD ที่ได้รับจากเจ้าของเรือ/ไต๋เรือขนถ่าย มาทำการบันทึกเข้าระบบ เจ้าหน้าที่ท่าเทียบเรือ หรือ เจ้าหน้าที่ประมงจังหวัด เจ้าหน้าที่ท่าเทียบเรือ หรือ เจ้าหน้าที่ประมงจังหวัด บันทึก MCTD

รูปแบบเลขที่ฟอร์ม MCTD

Thank you