การประชุม การสร้างตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ ภายใต้โครงการศึกษาวิจัยบริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ซึ่งเคยเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมหลักสูตรการเพิ่มศักยภาพบุคลากรด้านการวางแผนพัฒนาเมือง ณ เมืองเมลเบิร์น เครือรัฐออสเตรเลีย รายชื่อเพิ่มเติม หน่วยงานละ 2 คน เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้กระบวนการสร้างตัวชี้วัดฯ ในระดับนานาชาติ วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2562 เวลา 13.30 น. ณ ห้องนพรัตน์ ชั้น 5 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ระเบียบวาระ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ การดำเนินโครงการศึกษาวิจัยบริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ โดยกรุงเทพมหานคร (สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล) ร่วมกับมหาวิทยาลัย RMIT ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ รายงานการดำเนินงานโครงการความร่วมมือระดับเมืองกับ มหาวิทยาลัย RMIT ภายใต้โครงการศึกษาวิจัยบริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ (ช่วงที่ 1) ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องหารือ 3.1 กรอบตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ จำนวน 24 ตัวชี้วัด 3.2 การกำหนดทีมงานในการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ (ช่วงที่ 2) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ด้วยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบให้กรุงเทพมหานคร (สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล) เข้าร่วมโครงการศึกษาวิจัยบริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ โดยดำเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย RMIT (Royal Melbourne Institute of Technology University) เพื่อสร้างกรอบแนวคิดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ โดยมหาวิทยาลัย RMIT ร่วมกับกรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ จำนวน 24 ตัวชี้วัด ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของหน่วยงาน ได้แก่ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการระบายน้ำ สำนักการศึกษา สำนักป้องกันและ-บรรเทาสาธารณภัย สำนักพัฒนาสังคม สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัย และสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลจัดประชุมผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมทั้งสำนักงานการต่างประเทศ เพื่อรับฟังความคิดเห็นและหารือเกี่ยวกับรายละเอียดข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดดังกล่าว ซึ่งจะมีการทดสอบเพื่อกำหนดเป็นตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ ต่อไป
ความเป็นมา 2560 (พ.ค. – มิ.ย. 2560) โครงการฝึกอบรมการเพิ่มศักยภาพบุคลากรด้านการวางแผนพัฒนาเมือง ณ เครือรัฐออสเตรเลีย ระหว่าง 27 พ.ค. - 10 มิ.ย.2560 2560 (ต.ค. 2560) ผว.กทม. เห็นชอบให้ กทม. เข้าร่วมโครงการศึกษาวิจัยบริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ และมอบ สยป. เป็นหลักในการดำเนินการ 2561 (ดำเนินงาน ช่วงที่ 1) มหาวิทยาลัย RMIT ร่วมกับ กทม. กำหนดกรอบตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ จำนวน 24 ตัวชี้วัด 2562 (ดำเนินงาน ช่วงที่ 2) มหาวิทยาลัย RMIT ร่วมกับ กทม. ขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ (ช่วงที่ 2) 2560 (พ.ค. – มิ.ย. 60) - สยป. จัดโครงการฝึกอบรมการเพิ่มศักยภาพบุคลากรด้านการวางแผนพัฒนาเมือง ณ เครือรัฐออสเตรเลีย ระหว่าง 27 พ.ค. - 10 มิ.ย. 60 ผู้เข้าร่วมโครงการ รวมจำนวน 23 คน - เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรตามยุทธศาสตร์และนโยบายของกรุงเทพมหานคร - การจัดอันดับเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลก เมืองเมลเบิร์น เครือรัฐออสเตรเลียได้ อันดับที่ 1 กรุงเทพมหานคร อันดับที่ 102 (ข้อมูล 2015) 2560 (ต.ค. 2560) - ผว.กทม. เห็นชอบให้ กทม. เข้าร่วมโครงการศึกษาวิจัยบริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ และมอบหมายให้ สยป. เป็นหลักในการดำเนินโครงการฯ (หนังสือ สยป. ที่ กท 0506/1814 ลว. 5 ต.ค. 60) 2561 (ดำเนินงาน ช่วงที่ 1) มหาวิทยาลัย RMIT ร่วมกับกรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ จำนวน 24 ตัวชี้วัด 2562 (ดำเนินงาน ช่วงที่ 2) มหาวิทยาลัย RMIT ร่วมกับ กทม. ขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ (ช่วงที่ 2) ต่อไป สยป. เสนอให้มีคณะทำงานเพื่อร่วมกันพิจารณา ตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล และการขยายขีดความสามารถในการติดตามผลลัพธ์ในเชิงพื้นที่ ต่อไป
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ
รายงานผลการศึกษาวิจัย บริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ ช่วงที่ 1 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญของแนวคิดความเป็นเมืองน่าอยู่ ส่วนที่ 3 สรุปกรอบในการดำเนินโครงการฯ ส่วนที่ 4 สรุปกรอบความเป็นเมืองน่าอยู่ที่ได้รับการพัฒนาและทดสอบในบริบทของกรุงเทพฯ รายงานผลการศึกษาวิจัยบริบทของความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ ช่วงที่ 1 สรุปสาระสำคัญเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร สรุปเป้าหมายของโครงการฯ 3 เรื่อง คือ การสร้างกรอบแนวคิดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ การพัฒนาเครื่องมือและตัวชี้วัดที่จำเป็นต้องใช้และตรวจสอบความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ และ การระบุแหล่งข้อมูลและใช้กรอบ (ตัวชี้วัด) ความน่าอยู่ของเมืองกรุงเทพฯ โดยผลการวิจัยโครงการฯ ชี้ให้เห็นว่าเครื่องมือและตัวชี้วัดที่ได้จากกรอบความร่วมมือนี้สามารถนำไปขยายขีดความสามารถในการติดตามผลลัพธ์ในเชิงพื้นที่ได้ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญของแนวคิดความเป็นเมืองน่าอยู่ การประยุกต์ใช้แนวความคิดในประเทศไทยและการขยายไปสู่บริบทของประเทศที่มีรายได้ต่ำถึงปานกลางเพื่อส่งเสริมให้ทุกคนในสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี ส่วนที่ 3 สรุปกรอบในการดำเนินโครงการฯ แบ่งเป็น 5 ระยะ คือ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างกรอบแนวคิดเรื่องความเป็นเมืองน่าอยู่ในบริบทของกรุงเทพฯ การทบทวนวรรณกรรมเรื่องเมืองน่าอยู่ของนานาประเทศโดยเปรียบเทียบในมิติของการปรับให้เข้ากับตัวชี้วัด SDGs การประเมินความสามารถในการวิจัยและความพร้อมใช้งานของข้อมูล เพื่อพัฒนาแม่แบบระบุแหล่งข้อมูลและศักยภาพ กำหนดมาตรวัดความเป็นเมืองน่าอยู่ที่มีข้อมูลและมาตรวัดที่ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สรุปกรอบเมืองน่าอยู่สำหรับกรุงเทพฯ โดยจัดลำดับความสำคัญของมาตรวัดตามข้อมูลที่มีอยู่และตามศักยภาพที่จำเป็น พร้อมทั้งทดลองใช้กรอบเมืองน่าอยู่ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเต็มรูปแบบ ส่วนที่ 4 บทสรุป กรอบความเป็นเมืองน่าอยู่ที่ได้รับการพัฒนาและทดสอบในบริบทของกรุงเทพฯ สอดคล้องกับกรอบตัวชี้วัด SDGs สามารถนำการศึกษาวิจัยไปสู่การปรับตัวและประยุกต์ใช้แนวความคิดในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ เพื่อส่งเสริมให้ทุกคนในสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี
กรอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ 24 ตัวชี้วัด กรอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ 24 ตัวชี้วัด คุณภาพน้ำ/มลพิษ (Water quality/pollution) อากาศคุณภาพสูง (High quality air) ต้นไม้ที่ให้ร่มเงามากขึ้น (Greater tree coverage to provide shade) ไม่มีน้ำท่วม (No flooding) น้ำดื่มที่ปลอดภัย (Safe drinking water) ขยะเป็นศูนย์ (Zero waste) การระบายน้ำทิ้ง (Sewerage) การเข้าถึงเชื้อเพลิง (Access to fuel) อาหารที่มีคุณภาพ (Quality food) 16) ความพร้อมใช้งานของระบบขนส่งมวลชน เครือข่ายการขนส่งสาธารณะ ที่เชื่อมต่อกัน การจัดหาที่เพิ่มขึ้นของการพัฒนาที่มุ่งเน้นการขนส่ง (Mass transit availability; connected public transport networks) 17) ลดลง/ไม่มีรถยนต์หนาแน่น (Reduced/no car congestion) 18) พื้นที่สำหรับการพักผ่อนหย่อนใจแบบสงบและการออกกำลังกาย (Areas for passive recreation and physical activity) 19) พื้นที่สีเขียว สวนขนาดเล็ก (Green space, pocket parks) 20) การเข้าถึงวัด พิพิธภัณฑ์ ดนตรี และกิจกรรมทางวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่เปิดโอกาสให้คนมาพบกัน ศูนย์ชุมชนท้องถิ่นเอนกประสงค์ (Access to temples, museums, music and other cultural events) 21) สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย (A safe environment) 22) การศึกษาและโรงเรียนที่มีคุณภาพสูง (High quality education and schools) 23) ประชากรที่แข็งแรง : ทั้งทางร่างกายและจิตใจ (Healthy population: both physically and mentally healthy) 24) สิ่งอำนวยความสะดวกในระดับท้องถิ่น (การเข้าถึงบริการและการจ้างงานในพื้นที่ใกล้เคียง) (A high level of local amenity (neighbourhood access to services and employment) 10) ความรู้สึกของชุมชน (Sense of community) 11) ความสามารถในการซื้อหาที่อยู่อาศัย (Housing affordability) 12) โอกาสของการจ้างงานในท้องถิ่น (Local employment opportunities) 13) ความมั่นคงในการทำงาน (Job security) 14) ความสมดุลของการทำงาน/ชีวิต (Work/life balance) 15) โอกาสที่จะได้รับค่าจ้างที่ยุติธรรม (Opportunity to earn a fair wage) กรอบความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ ประกอบด้วย 24 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) คุณภาพน้ำ/มลพิษ 2) อากาศคุณภาพสูง 3) ต้นไม้ที่ให้ร่มเงามากขึ้น 4) ไม่มีน้ำท่วม 5) น้ำดื่มที่ปลอดภัย 6) ขยะเป็นศูนย์ 7) การระบายน้ำทิ้ง 8) การเข้าถึงเชื้อเพลิง 9) อาหารที่มีคุณภาพ 10) ความรู้สึกของชุมชน 11) ความสามารถในการซื้อหาที่อยู่อาศัย 12) โอกาสของการจ้างงานในท้องถิ่น 13) ความมั่นคงในการทำงาน 14) ความสมดุลของการทำงาน/ชีวิต 15) โอกาสที่จะได้รับค่าจ้างที่ยุติธรรม 16) ความพร้อมใช้งานของระบบขนส่งมวลชน เครือข่ายการขนส่งสาธารณะที่เชื่อมต่อกัน การจัดหาที่เพิ่มขึ้นของการพัฒนาที่มุ่งเน้นการขนส่ง 17) ลดลง/ไม่มีรถยนต์หนาแน่น 18) พื้นที่สำหรับการพักผ่อนหย่อนใจแบบสงบและการออกกำลังกาย 19) พื้นที่สีเขียว สวนขนาดเล็ก 20) การเข้าถึงวัด พิพิธภัณฑ์ ดนตรี และกิจกรรมทางวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่เปิดโอกาสให้คนมาพบกัน ศูนย์ชุมชนท้องถิ่นเอนกประสงค์ 21) สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย 22) การศึกษาและโรงเรียนที่มีคุณภาพสูง 23) ประชากรที่แข็งแรง : ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และ 24) สิ่งอำนวยความสะดวกในระดับท้องถิ่น (การเข้าถึงบริการและการจ้างงานในพื้นที่ใกล้เคียง) หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องกับกรอบความเป็นเมืองน่าอยู่ 24 ตัวชี้วัด มีจำนวน 10 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการระบายน้ำ สำนักการศึกษา สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักพัฒนาสังคม สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัย และสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล รวมถึงสำนักงานการต่างประเทศ
กรอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ 24 ตัวชี้วัด กรอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ 24 ตัวชี้วัด RMIT : 7 Domain Air Quality 2) อากาศคุณภาพสูง Food environment 9) อาหารที่มีคุณภาพ Housing 11) ความสามารถในการซื้อหาที่อยู่อาศัย Employment 12) โอกาสของการจ้างงานในท้องถิ่น 13) ความมั่นคงในการทำงาน 15) โอกาสที่จะได้รับค่าจ้างที่ยุติธรรม Transport 16) ความพร้อมใช้งานของระบบขนส่งมวลชน เครือข่ายการขนส่งสาธารณะที่เชื่อมต่อกัน การจัดหาที่เพิ่มขึ้นของการพัฒนาที่มุ่งเน้นการขนส่ง 17) ลดลง/ไม่มีรถยนต์หนาแน่น Public open space 18) พื้นที่สำหรับการพักผ่อนหย่อนใจแบบสงบและการออกกำลังกาย 19) พื้นที่สีเขียว สวนขนาดเล็ก Social infrastructure 20) การเข้าถึงวัด พิพิธภัณฑ์ ดนตรี และกิจกรรมทางวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่เปิดโอกาสให้คนมาพบกัน ศูนย์ชุมชนท้องถิ่นเอนกประสงค์ 22) การศึกษาและโรงเรียนที่มีคุณภาพสูง 23) ประชากรที่แข็งแรง : ทั้งทางร่างกายและจิตใจ 24) สิ่งอำนวยความสะดวกในระดับท้องถิ่น (การเข้าถึงบริการและการจ้างงานในพื้นที่ใกล้เคียง) จากรายงาน ช่วงที่ 1 ตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ 24 ตัวชี้วัด จัดตาม RMIT : 7 Domain ได้ดังนี้ Air Quality : 2) อากาศคุณภาพสูง Food environment : 9) อาหารที่มีคุณภาพ Housing : 11) ความสามารถในการซื้อหาที่อยู่อาศัย Employment : 12) โอกาสของการจ้างงานในท้องถิ่น 13) ความมั่นคงในการทำงาน และ 15) โอกาสที่จะได้รับค่าจ้างที่ยุติธรรม Transport : 16) ความพร้อมใช้งานของระบบขนส่งมวลชน เครือข่ายการขนส่งสาธารณะที่เชื่อมต่อกัน การจัดหาที่เพิ่มขึ้นของการพัฒนาที่มุ่งเน้นการขนส่ง 17) ลดลง/ไม่มีรถยนต์หนาแน่น Public open space : 18) พื้นที่สำหรับการพักผ่อนหย่อนใจแบบสงบและการออกกำลังกาย 19) พื้นที่สีเขียว สวนขนาดเล็ก Social infrastructure : 20) การเข้าถึงวัด พิพิธภัณฑ์ ดนตรี และกิจกรรมทางวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่เปิดโอกาสให้คนมาพบกัน ศูนย์ชุมชนท้องถิ่นเอนกประสงค์ 22) การศึกษาและโรงเรียนที่มีคุณภาพสูง 23) ประชากรที่แข็งแรง : ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และ 24) สิ่งอำนวยความสะดวกในระดับท้องถิ่น (การเข้าถึงบริการและการจ้างงานในพื้นที่ใกล้เคียง)
กรอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ 24 ตัวชี้วัด กรอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ 24 ตัวชี้วัด : UN Global Compact CityScan : Subcategory Water resource management 1) คุณภาพน้ำ/มลพิษ 5) น้ำดื่มที่ปลอดภัย Climate change mitigation 3) ต้นไม้ที่ให้ร่มเงามากขึ้น Climate change impacts and adaptation 4) ไม่มีน้ำท่วม Waste 6) ขยะเป็นศูนย์ 7) การระบายน้ำทิ้ง Energy 8) การเข้าถึงเชื้อเพลิง Social inclusion; Community and culture 10) ความรู้สึกของชุมชน Labour Rights 14) ความสมดุลของการทำงาน/ชีวิต Public safety 21) สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
3.1 กรอบตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ จำนวน 24 ตัวชี้วัด ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องหารือ 3.1 กรอบตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพฯ จำนวน 24 ตัวชี้วัด
BMA Feedback Form : Liveability data sources and measures มหาวิทยาลัย RMIT ประสานข้อมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล และการขยายขีดความสามารถในการติดตามผลลัพธ์ในเชิงพื้นที่ ต่อไป Immediate medium-term long-term
immediate Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Crime Criminal cases per 100,000 persons To map this indicator, we will need this data at a district or sub-district level. Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) Proposed: Criminal cases per 100,000 persons (violent crimes) We suggest violent crimes per 100,000 persons as a measure of crime. 1) Does this seem appropriate for Bangkok? (Yes/No) 2) Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) Proposed: Criminal cases per 100,000 persons (property crimes) We suggest property crimes per 100,000 persons as a measure of crime. Does this seem appropriate for Bangkok? (Yes/No) Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No)
immediate Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Tree coverage Number of green areas To map this indicator, we will need: 1) a definition of 'green areas' that is appropriate for Bangkok (for example, definitions of 'green areas' could include: the types of places that are considered 'green,' whether there is a minimum or maximum size for these areas, etc.); 2) a decision about whether green areas that are located next to each other will be counted as one green area, or two or more green areas; 3) a decision about whether this measure will take into account the size of each green area. Tree coverage percent We suggest using satellite data on land cover (USGS EROS MODIS, 2017) to measure tree coverage percent. Does this seem appropriate for Bangkok? (Yes/No) Vegetation Index We suggest Vegegation Index as a measure of green space. Does this seem appropriate for Bangkok? (Yes/No) NDVI (Normalized Difference Vegetation Index) We suggest NDVI as a measure of green space. Does this seem appropriate for Bangkok? (Yes/No)
immediate Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Air quality Nitrogen dioxide in the air (ppm) N/A Dust/suspended particles in the air – micrograms/m3 Water quality Number of canal water quality testing points showing dissolved oxygen content of ≥ 2.0 mL/L We have not been able to find this data. Does the BMA have access to this data? (Yes/No) Number of floods per year Is there more recent data for this measure? (Yes/No) Is this the best data available for flooding? (Yes/No) Flood area percent N/A Proposed: Flood vulnerability We suggest flood vulnerability as a measure of flooding. Does the BMA have this data? (Yes/No)
immediate Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Access to temples Number of temples per district area N/A Proposed: Number of temples per 1,000 residents Access to Schools Number of primary schools per 1,000 residents Number of secondary schools per 1,000 residents Waste management Average volume (kg) per household of non-recyclable garbage We have not been able to find this data. Does the BMA have access to this data? (Yes/No) Sense of community Ratio of community population to district population
medium-term Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Sense of community Unemployment rate Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) Income Average monthly household income Proposed: Average cost of living We suggest average cost of living as a measure of income. Does this seem appropriate for Bangkok? (Yes/No) Proposed: Coefficient of Inequality We suggest coefficient of inequality as a measure of income. Does this seem appropriate for Bangkok? (Yes/No) Education Percentage of residents with a primary school education Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) & Is there more recent data? (Yes/No)
medium-term Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Health Average life expectancy Does the BMA have access to this data at Bangkok-wide, district or sub-district level? (Yes/No) Average age by district Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) Number of cases of mental and behavioural disorders N/A Percentage of residents living and working in the same district We have not been able to find this data. Does the BMA have access to this data? (Yes/No) Percentage of samples of food that is in accordance with health and hygiene standards We have not been able to access this data. Can the BMA send this data? (Yes/No)
medium-term Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Traffic congestion Number of vehicles per kilometre of city roads Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) Sewerage* Percentage of population with sewerage at their dwelling Areas for passive recreation and physical activity Percentage of residents living < 400 m of public open space N/A
long-term Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Areas for passive recreation and physical activity Percentage of residents living < 400 m of a large park (> 1.5 hectares) N/A Percentage of residents living < 400 m of local park Public transport Percentage of residents living < 400 m of a local bus stop Percentage of residents living < 800 m of train station
long-term Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Housing affordability Percentage of land being used for informal housing Does the BMA have access to this data? (Yes/No) Work/Life balance Number of hours of working per day and per week Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) Number of hours per week engaged in leisure activities Access to community centres Percentage of residents living < 400 m of community centre There is BMA data on 'community locations.' Does this seem like an appropriate measure of community centres for Bangkok? (Yes/No) [If No, please suggest data for this measure.] Neighbourhood amenity Percentage of residents living near locally-defined ‘social infrastructure’ (37) To map this indicator, we will need: 1) A list of places the BMA considers 'social infrastructure' for Bangkok, 2) A decision about whether the BMA would like to measure access to temples, access to museums, access to community centres, etc. separately, or measure access to at least one of these (a combined measure)? 3) A decision about whether the BMA is interested in temples only, or any place of worship (including churches, mosques, etc.)?
long-term Indicator Most useful measure ACTIONS FOR BMA: Drinking water quality Percentage of population with piped water Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) Proposed: Percentage of population with piped water as major source of water supply Does the BMA have access to this data at district or sub-district level? (Yes/No) & Is there more recent data? (Yes/No) Proposed: Percentage of population with piped water as major source of drinking water Access to liquefied petroleum gas Liquefied petroleum gas connections per household Proposed: Percentage of population using gas as a primary fuel source
3.2 การกำหนดทีมงานในการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ (ช่วงที่ 2) ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องหารือ 3.2 การกำหนดทีมงานในการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ (ช่วงที่ 2)
Timeframe ช่วงที่ 2
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่น ๆ Dr.Hannah Badland ส่ง e-mail มาเชิญให้ กทม. เข้าร่วมโครงการตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่นานาชาติ
จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ