Don Bosco Banpong Technological College ความพึงพอใจของนักเรียน ปวช. 3 รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารในงานอาชีพ ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบมี ส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน วิทยาลัย เทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง ปีการศึกษา 2557 นายธีรยุทธ หนูนันท์ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง ชื่อผลงานวิจัย ชื่อผู้วิจัย สังกัด
Don Bosco Banpong Technological College 1. นักเรียนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 2. นักเรียนมีการเตรียมพร้อมต่อการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนมากน้อยเพียงใด ทำให้ผู้วิจัยสนใจว่า การจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมช่วยส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ปัญหาการวิจัย
Don Bosco Banpong Technological College เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ปวช. 3 รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง ปีการศึกษา 2557 วัตถุประสงค์
Don Bosco Banpong Technological College ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้แนวคิดของธเนศ เจริญทรัพย์ (2557:ออนไลน์) เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วม และการสำรวจระดับความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตไทย (กาญจนา ปราบพาล 2543:บทคัดย่อ) กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น การจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมในการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตัวแปรตาม ความพึงพอใจของนักเรียน ปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง ภาพแผนภูมิกรอบแนวคิดการวิจัย
Don Bosco Banpong Technological College ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ปวช. 3 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 6 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 207 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้น ปวช. 3 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ จำนวน 136 คน ได้จากการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) จากนั้นได้ใช้การสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีจับสลาก ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
Don Bosco Banpong Technological College เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย เป็นแบบสอบถามเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ปวช. 3 รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง 1. ดำเนินการเก็บข้อมูลจากนักเรียน จำนวน 136 คน โดยการแจกแบบ สอบถามให้กับนักเรียนด้วยตนเอง 2. นำแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ์เพื่อทำการวิเคราะห์ต่อไป เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล การรวบรวมข้อมูล
Don Bosco Banpong Technological College ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Don Bosco Banpong Technological College
Don Bosco Banpong Technological College 1. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วม พบว่าค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. จากการเก็บรวบรวม ข้อมูล พบว่าค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 2. ครูผู้สอนควรเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมเพื่อให้นักเรียน สนุกกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของภาษาอังกฤษ และสามารถเตรียมตัวให้พร้อม ต่อการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน สรุปผลการวิจัย
Don Bosco Banpong Technological College 1. ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนโดยให้เวลามากกว่านี้ การจัดกิจกรรมหลากหลายในวันเดียว ทำให้นักเรียนรู้สึกเหนื่อยเกินไป 2. การจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วม เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน เป็นกิจกรรมที่ดี ครูผู้สอนควรจัดต่อไป ข้อเสนอแนะ
Don Bosco Banpong Technological College จากการทำวิจัยพบว่า ปัญหาในการสร้างความพร้อมให้นักเรียนของวิทยาลัยเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนมีอยู่หลายประการ โดยเฉพาะประเด็นที่เกิดผลกระทบต่อตัวผู้วิจัยเอง คือ การนำเสนอแผนการสร้างความตระหนักให้กับผู้บริหารและครู เพื่อให้เกิดการส่งเสริมการเตรียมความพร้อมด้านความสนใจ กระตือรือร้น ต่อการจัดสภาพแวดล้อม อุปกรณ์และสื่อที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอังกฤษต่อประชาคมอาเซียน ซึ่งถ้าระดับวิทยาลัยและครูตระหนักในข้อนี้ จะสามารถแก้ปัญหาการขาดความรู้ของนักเรียนที่อยู่ในวิทยาลัยได้ ผลกระทบที่เกิดขึ้น