งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพและ การจัดการความรู้สำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง กรฐณธัช ปัญญาใส Ph.D. พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.

2 WHO UN Death 2568 Network World Bank รัฐบาลประเทศต่างๆ 25%

3 Health Literacy Factor Thailand Integration DM,HT,CA
Health Promotion Factor Health Literacy Integration Thailand DM,HT,CA Heart Disease,Stroke,

4 Chiang Rai Risk DM 11% Risk HT 34%

5 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อการจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน

6 ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีขอบเขตของการศึกษาความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน ตำบลแม่กรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

7 วิธีการดำเนินการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mix Method) เพื่อศึกษาความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและการจัดการความรอบรู้กลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน

8 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ การสำรวจความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนเป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 103 คน(Krejcie& Morgan.1970)7โดยการสุ่มแบบอย่างง่าย

9 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ การจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มแก่นนำสุขภาพชุมชน จำนวน 10 คน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 1 คน, ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 3 คน, ปราชญ์สุขภาพชุมชน จำนวน 2 คน, แกนนำสุขภาพชุมชน จำนวน 3 คน และผู้ป่วยต้นแบบ จำนวน 1 คน โดยการสุ่มเจาะจง (Purposive sampling)

10 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แบบประเมินความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของคนไทย กองสุขศึกษา ผลการสำรวจความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง แนวคำถามการจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

11 การเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้วิจัยประสานกับพื้นที่เพื่อขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัย คณะผู้วิจัยดำเนินการเสนอขอการรับรองจริยธรรมในการวิจัยได้รับการอนุมัติหมายเลขการวิจัย 10/2558 ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2558 คณะผู้วิจัยดำเนินเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอนการวิจัย

12 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่า ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)

13 ผลการศึกษา

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อการจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน

31 การจัดการความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ
การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ ระยะเวลาในการบรรยายสั้น ไม่กล้าสอบถามประเด็นที่ไม้เข้าใจหรือสับสน ป่อแม่ใครเป๋น...ลูกเต้าหลานเหลน...ตึงเป็นหมด เวลาหมอเปิ้ลมาอู้...คนกะนัก...เฮาตึงไม่กล้าถาม

32 การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ
การไม่กล้าเข้าพบในการปรึกษาหาแนวทางป้องกันโรค ช่วงเวลาว่างไม่ตรงกับการให้บริการของบุคลากรสาธารณสุข เฮาบ่ใจคนไข้....เฮาตึงบ่กล้าไปอู้กับหมอ กว่าจะลุกโต้งลุกนามา...มันกะค่ำกะมืดหละ

33 การสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพ
ขาดที่ปรึกษาทางด้านสุขภาพ การเข้าใจความหมายของสื่อที่ผิด เวลาสงสัยอะหยั๋ง...ตังสุขภาพ...กะบ่ฮู้จะไปอู้กับใคร เวลาหมอเปิ้ลอู้มา....บ่ฮู้ว่าใจ่ก่... จะถามกะบ่กล้าถาม

34 การจัดการเงื่อนไขของตนเอง
การไม่มีเวลา หรือช่องทางที่ดีสำหรับกลุ่มเสี่ยง เดี๋ยวกะก๋านนั้น....ก๋านนี้....ซะปะ ตึงก๋านเปิ้ลก๋านตั๋ว

35 การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ
การสื่อสารทางเดียวขาดบุคคลทางด้านสาธารณสุขหรือผู้รู้ให้ความเข้าใจทางที่ถูก หมอเปิ้ลบอกมาจะอี้.... บ่ฮู้ว่าใจ่ก่.... จะถามกะบ่กล้าถามนั้นกะ...

36 การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง
การตัดสินใจเลือกปฏิบัติในทางที่ไม่ถูกต้องโดยไม่มีใครให้คำปรึกษาทางด้านสุขภาพ บ่ฮู้จะไปถามใครดีนั้นกะ....ถามคนนั้นคนนี้....มันตึงบ่ฮู้เหมือนกันกะ

37 การมีส่วนร่วมกิจกรรมสุขภาพทางสังคม
การไม่มีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆเนื่องจากการประกอบอาชีพ เดี๋ยวกะก๋านนั้นก๋านนี้ซะปะ..... ตึงก๋านเปิ้ลก๋านตั๋ว

38 การคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง
การขาดความรู้ความเข้าใจในพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงไม่มีการคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง ยะอยู่กู่วันนี้บ่ฮู้ผิด....หรือถูก... ถ้าผิดคงยังยะอยู่ต่อไปนั้นกะ

39 Focus group ความสอดคล้องของกิจกรรมกับบริบทชุมชน 0.99
เนื้อหา เท่ากับ 0.95 กิจกรรมรู้ก่อนชนะก่อน กิจกรรมหมอน้อยประจำตัว Focus group กิจกรรมขาด 3 ตัดสิทธิ กิจกรรม ไม่เข้าใจให้ถาม กิจกรรมเคาะประตูบ้าน การนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน 1.00 สื่อการจัดการเรียนรู้ 1.00

40 ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป
ควรนำผลกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพครั้งนี้ไปทดลองใช้กับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ควรนำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในครั้งนี้ไปศึกษาเพิ่มเติมในแต่ละชุมชนที่มีบริบทแตกต่างกัน เช่น ชุมชนเมือง ชุมชนชนบท เป็นต้น เพื่อหาปัจจัยด้านอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จ ของการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ


ดาวน์โหลด ppt พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google